Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลอืเด็กที่ได้รับอุบัตเิหตุและสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลอืเด็กที่ได้รับอุบัตเิหตุและสารพิษ
อุบัติเหตุ
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-ส่วนมากเป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการพลัดตกหกล้มการวิ่งชนกันจากการเล่นกีฬา
-ทำให้เกิดบาดแผลกระดูกหักข้อเคลื่อน
-ซึ่งอาจเกิดจากโรงเรียนมีสนามเด็กเล่นจำกัดนักเรียนต่างวัยเล่นในบริเวณเดียวกัน
-เด็กเล็กมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายเพราะประสบการณ์น้อยกว่าหรืออาจเกิดจากความบกพร่องของอุปกรณ์เครื่องใช้
ุอุบัติเหตุจาการจราจร
เป็นอุบัติเหตุที่นับวันจะพบมากขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปมีถนนหนทางที่สะดวกสบายมีการใช้ยวดยานพาหนะที่มากขึ้น
อุบัติเหตุในบ้าน
ถูกของมีคมและพลัดตกหกล้ม (The sharp prick & Falls)
-ของมีคมที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันผู้ใช้เก็บไว้ในที่ซึ่งเด็กอาจหยิบออกมาเล่นได้
-เครื่องใช้หรือวัสดุก่อสร้างที่มีปลายแหลมหรือของมีคมอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดบาดเจ็บได้เช่นมีคที่ใช้เตรียมอาหารใบมีดโกนที่ใช้แล้วขอบรั้วสังกะสีปลายแหลมของตะปูบนพื้นบ้านหรือตามผนังห้องทำให้เกิดบาดแผลมีเลือดออกได้
-การพลัดตกหกล้มจากการปีนป่ายไปที่สูงเพื่อหยิบของบันได้บ้านที่สูงชันพื้นบ้านที่ชำรุด
อุบัติเหตุจากสารพิษ (Poisoning) พบมากในเด็กเพศชายในกลุ่มอายุระหว่าง 1-5 ปีซึ่งเป็นเด็กก่อนวัยเรียนเวลาส่วนใหญ่จึงอยู่ในบ้านและเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นเริ่มค้นหาสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้าน
จมน้ำ (Drowning)
-เด็กเล็กๆอาจคลืบคลานหรือวิ่งเล่นตกหล่นลงไปในแหล่งน้ำ
-ในส่วนภูมิภาคที่ใช้บ่อน้ำเด็กอาจปีนป่ายขึ้นไปนั่งบนขอบบ่อหรือชะโงกตามขอบบ่อจนตกลงไปในบ่อได้
-ตามบ้านที่มีตุ่มเก็บน้ำวางไว้โดยไม่มีส่วนฝาปิดให้มิดชิดเด็กอาจตกลงไปในตุ่มได้
ถูกความร้อนลวก (Scalds) ได้แก่ อุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องอุปโภคและบริโภคภายในบ้าน
-เครื่องใช้หุงต้มที่มีความร้อน
-เตารีดที่ร้อน
-ภาชนะบรรจุของร้อนที่วางอยู่บนโต๊ะที่มีผ้าปูโต๊ะเมื่อเด็กกระชากผ้าลงมาจะทำให้ของร้อนหล่นลงมาลวกได้
ถูกขัง (Constrained) ระหว่างที่เด็กไม่ได้รับความเอาใจใส่จากบิดามารดาหรือผู้ดูแลเด็กอาจเข้าไปซุกซ่อนอยู่ภายในห้องเก็บของห้องน้ำโดยปิดตัวเองไว้ภายในจนเกิดอันตรายได้ตู้เย็นหรือตู้แช่แข็งขนาดใหญ่เด็กอาจเข้าไปซ่อนจนออกมาไม่ได้หรือเด็กอาจเข้าไปในช่องเก็บของหลังรถยนต์และปิดตัวเองไว้ภายในทำให้ขาดอากาศหายใจและเป็นอันตรายได้
สิ่งแปลกปลอม
หู
-ถ้าเป็นเด็กที่อยู่ในช่วงปลาย 5-6 ขวบสามารถบอกให้อยู่นิ่งๆได้หรือทารกเราสามารถจับศีรษะให้อยู่นิ่งๆได้และของนั้นอยู่ตื้นมองเห็นและคีบออกง่ายควรจะพูดให้เด็กเข้าใจและค่อยๆปากคีบปลายมนคีบออกมา
๐ ถ้าเป็นแมลงเข้าหูต้องทำให้แมลงตายโดยใช้น้ำมันพืชเช่นน้ำมันมะกอกหยอดเข้าไปในหูทิ้งไว้สักครู่
-ถ้าเป็นเด็กเล็กที่ไม่ยอมอยู่นิ่งสิ่งแปลกปลอมอยู่ลึกควรพาไปพบแพทย์
ตา
ใช้ยาล้างตาให้เด็กลืมตาในแก้วล้างตาเศษฝุ่นผงอาจหลุดออกมาได้
ถ้าสิ่งแปลกปลอมไม่ออกเด็กยังร้องเจ็บอยู่ผู้ปฐมพยาบาลควรล้างมือพลิกเปลือกตาบนดึงเปลือกตาล่างดูว่าสิ่งแปลกปลอมอยู่ตำแหน่งใด
เปลือกตาบนให้เด็กกลอกนัยน์ตาลงใช้น้ำสะอาดค่อยๆรินผ่านสิ่งแปลกปลอมที่ติดอยู่
ถ้าเป็นสารเคมีให้รีบเบิกตาบนและล่างให้กว้างที่สุดรินน้ำสะอาดผ่านนัยน์ตาทันที่ประมาณ 5 นาที
เปลือกตาล่างใช้ผ้าสะอาดหรือสำลีสะอาดชุบน้ำสะอาดบิดให้แห้งค่อยๆเขี่ยออกอย่างเบามือ
ถ้ายังไม่ออกไม่ควรพยายามเขียสิ่งแปลกปลอมแรงๆออกเพราะอาจเป็นอันตรายต่อนัยน์ตา
จมูก
หยอดน้ำมันพืชเข้าไปในจมูกข้างที่มีสิ่งแปลกปลอม
บอกให้เด็กที่สามารถสั่งน้ำมูกได้สั่งน้ำมูกเบาๆถ้าเด็กเล็กไม่ควรใช้วิธีนี้
ถ้าสิ่งแปลกปลอมอยู่ลึกและเป็นพวกเมล็ดกลมๆผิวมันหรือลูกปัดห้ามคืบหรือเขียออกเองเพราะจะยิ่งดันให้เมล็ดพืชหรือสุกบดข้าไปลึกอีก
บอกให้เด็กหายใจทางปากแทนถ้าเด็กเด็กหายใจติดขัดให้รีบส่งโรงพยาบาล
สารพิษ
ถ้าเด็กยังรู้สึกตัวดีให้เด็กดื่มนม 1-2 แก้วเพื่อเป็นการเจือจางสารพิษถ้าหานมไม่ได้ในขณะนั้นให้ดื่มน้ำแทน
นำเด็กส่งโรงพยาบาลพร้อมขวดสารพิษที่เด็กกลืนเข้าไป
ถ้าเด็กกลืนสารพิษพวกน้ำหอมยาทาเล็บผงซักฟอกน้ำยาปรับผ้านุ่มดีดีทียาเบื่อหนูยากำจัดแมลงสาบหรืออื่นๆที่ไม่ใช่สารเคมีพวกกรดด่าง) (หรือสารประกอบปิโตรเลียมให้เด็กดื่มนมหรือน้ำ 1-2 แก้วเพื่อเจือจางสารพิษเช่นกันจากนั้นทำให้เด็กอาเจียนโดยการใช้นิ้วสะอาดล้วงคอเข้าไปลึกๆเพื่อกระตุ้นให้เด็กอาเจียน
ถ้าเด็กดมสารพิษเข้าไปเต็มที่จนรู้สึกหายใจติดขัดไอปวดศีรษะคลื่นไส้อาเจียนงุนงงและชักกระตุกรีบนำเด็กออกจากแหล่งที่มีสารพิษให้อยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้ดีมีลมพัดผ่าน
นำเด็กส่งโรงพยาบาลทันทีพร้อมขวดสารพิษที่เด็กกลืนเข้าไป
การได้รับสารพิษในเด็กมักมีแหล่งที่มาจากการใช้สิ่งของอุปกรณ์ที่มีอยู่ในครอบครัวการปฐมพยาบา
การปฐมพยาบาลเบือ้งต้น
ผู้ป่วยรู้สึกตัว (Conscious child)
Infant (เด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 1 ปี) ใช้เทคนิค Back blows and chest thrusts
Child (เด็กมีอายุ 1-8 ปี) ใช้วิธี Abdominal thrusts (Heimlich maneuver)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว (Unconscious child)
Infant
ต่อจากนั้นจัดศีรษะเด็กให้อยู่ในท่า head-tilt | chin lift
พยายามช่วยผู้ป่วยหายใจถ้าเด็กไม่หายใจให้ช่วยหายใจด้วยวิธี Mouth to mouth, mouth to nose หรือ Ambu bag
ถ้าเห็นให้ใช้นิ้วมือกวาดในปากของเด็ก (finger Sweep) เพื่อจะได้นำวัตถุแปลกปลอมออกมา
ถ้าไม่สำเร็จให้จัดท่าศีรษะเด็กใหม่แล้วให้ช่วยหายใจช้ำอีกครั้งถ้ายังไม่สำเร็จให้ทำ 5 back blows และ 5 chest thrusts ให้ทำซ้ำจนกว่าวัตถุแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรือช่วยให้เด็กหายใจได้
Child
การทำ tongue-jaw lift และพยายามช่วยเด็กให้หายใจเหมือนกับเด็กเล็กถ้าไม่สำเร็จให้ทำ abdominal thrusts หรือ Heimilich maneuver ซึ่งจะแตกต่างจากวิธีที่ใช้กับเด็กรู้สึกตัวตรงที่ให้เด็กนอนหงายผู้ช่วยเหลือจะนั่งคร่อมบนตัวหรือคุกเข่าข้างลำตัวบริเวณเข่าของเด็กและใช้สันมือข้างที่ถนัดและมืออีกข้างหนึ่งซ้อนกดลงตรงกึ่งกลางระหว่างสะดือกับกระดูกลิ้นปีด้วยแรงพอประมาณและกดขึ้นไปทางด้านบนของลำตัว 5 ครั้งแต่ละครั้งให้เว้นช่วงห่างกันพอประมาณและให้ทำซ้ำจนกว่าวัตถุแปลกปลอมจะหลุดออกมาหรือช่วยให้เด็กหายใจได้