Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดทมีคีวามผดิปกตทิ่พีบบ่อย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดทมีคีวามผดิปกตทิ่พีบบ่อย
9.การติดเชื้อในทารกแรกเกิด
สาเหต
ติดเชื้อชนิดเริ่มเร็ว early-onset sepsis) ติดเชื้อก่อนหรือระหว่างการคลอดแสดงอาการ 2-3 วันหลังคลอดรุนแรงเกิดขึ้นหลายระบบที่พบบ่อย ได้แก่ ติดเชื้อที่ปอดกระแสเลือดเชื้อสาเหตุพบทั้งแกรมบวกเช่น Gr. B streptococc และแกรมลบเช่น E. coli และ kiebsiella ติดซื้อระยะนี้อัตราตายสูง
ติดเชื้อชนิดเริ่มช้า (dateconset sepsis) เกิดหลังคลอด 3-4 วันเป็นเชื้อชนิดเดียวกับกับชนิดแรกในบางเชื้อ แต่ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้ ATB นานได้รับการทำหัตถการที่เสี่ยงมักพบการเฉพาะที่เช่น Meningitis เชื้อพบบ่อยแกรมบวก ได้แก่ Staphylococus Coagulase negtive และแกรมลบ ได้แก่ pseudomonas
อาการและอาการแสดง
ทางเดินอาหาร: ดูดนมไม่ดีท้องอืดอาเจียนท้องเสียหน้าท้องแดงตับโตม้ามโตเลือดออกง่าย
ประสาท: ซึมกระสับกระส่ายสั้นชักกล้ามเนื้ออ่อนแรง reflex ลดลงกระหม่อมหน้าโป่งตึงร้องเสียงแหลม
ระบบหายใจ: หายใจเร็วหายใจลำบาก
ผิวหนัง: เหลืองมีจุดเลือดออกผื่นล้ำเลือดตุ่มหนองผิวหนังแข็ง
ระบบไหลเวียน: ซีดตัวลายเป็นจำๆ (Mottling หรือ Cutis marmorata) ผิวหนังเย็นชื้น BP drop HR เร็ว / ช้า
Metabolic: hyperglycemia acidosis) อาจมีอาการเฉพาะที่ร่วมด้วยเช่นสะดืออักเสบปอดอักเสบเยื่อหุ้มสมองอักเสบติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ซึมร้องนานไม่ดูดนมดูไม่สบายมีไข้ / ตัวเย็น
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
-กรณีทราบชนิดเชื้อให้ ATB ตามผล sensitivity
-กรณีไม่ทราบเชื้อให้ ATB prophylaxis ที่คลุมทั้ง gram positive ได้แก่ Armpicilin และ Gram negative ได้แก่ gentamycin กรณีมี rmeningitis จาก Gram negative ให้ใช้ cefotaxime โดยทั่วไปให้ยา 7-10 วันแต่กรณีมี meningitis ให้อย่างน้อย 21 วัน
การรักษาประคับประคอง
-รักษาตามอาการ sepsis
-ป้องกันhypo-hyperthermia
-ให้สารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
-ป้องกันภาวะแทรกซ้อนเช่น SEPTIC SHOCK, Hyperbilirubinermia
การเสริมภูมิคุ้มกัน
-ให้ Intravenous immunoglobulin (ING) ป้องกันการติดเชื้อแต่แพง
-การเสริมเม็ดเลือดขาว (granulocyte transfusion) ขั้นตอนแยกยุ่งยากแพงไม่ใช่มาตรฐาน
-การเปลี่ยนถ่ายเลือดอาจช่วยลดอัตราตายได้แต่ไม่ใช่มาตรฐาน
Hypoglycemia
สาเหตุ
-ร่างกายมีกลูโคสลดลง
-ใช้ glucose เพิ่มจากภาวะเครียดหรือเจ็บป่วยต่างหลังคลอ
อาการและอาการแสดง
-พบได้บ่อยมาก 1-2 hr แรก-1 สัปดาห์หลังคลอด
-มักไม่แสดงอาการ
-ในรายที่มีอาการมักไม่จำเพาะต้องตรวจระดับน้ำตาล-ซึม-ไม่ดูดนม-สะดุ้งผวา (iteriness)
การรักษา
ติดตาม DTX 1-2 hr หลังคลอดและทุก 1-2 hr ใน 6-8 hr แรกหรือจนกว่าจะปกติถ้าระดับน้ำตาลปกติต้องให้สารอาหารทางปากหรือทางสายถ้าให้ทางปากไม่ได้ให้ IVF 5% DW หรือ 10% DW)
การดูแลทั่วไปรักษาภาวะที่เป็นสาเหตุเช่น RDS ติดเชื้อป้องกันการใช้พลังงานเพิ่มเช่น hypothermia
Hyperglycemia
สาเหตุ
-IUGK; ทำให้ลดการตอบสนองของ Insulin ต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับ Glucose
-ได้รับ Glucose มากเกินไป (> 6-8 mg / kg / นาที) หรือตับผลิต Glucose มากกว่าปกติ
-ได้รับยาบางอย่างเช่น coticosteroids, intralipid infusions, methylxanthines
อาการและอาการแสดง
•มักเริ่ม 24 hr แรกและก่อน 3 วัน
•มีน้ำตาลในปสสาวะมากและปัสสาวะมาก
•เสียน้ำและอิเล็คโทรไลท์
• Dehydration
• Hyperosmolarity เสี่ยงต่อเลือดออกในสมอง: พบอาการทางประสาทร่วมด้วย
การรักษา
ดูแลให้สารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำอย่างถูกต้องทั้งชนิดปริมาณและเวลาตามแผนการรักษา
บันทึก I/O
ชั่ง BW อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
ประเมินภาวะขาดน้ำ
ติดตาม DTX และ ELYTE
Spina bifida
การรักษา
การผ่าตัดแก้ไขและปิดบริเวณที่มีความพิการควรได้รับการ refer ไปยังโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในการผ่าตัดเร็วที่สุดภายใน 24-48 ชั่วโมงเพื่อลดการติดเชื้อและป้องกันความเสียหายต่อระบบประสาทและให้ยาปฏิชีวนะในช่วง 24 ชม. แรกก่อนผ่าตัด / สังเกตภาวะ hydrocephalus หลังการผ่าตัดหากมีต้องทำ shunt
อาการและอาการแสดง
Myelonmeningocele แตกต่างที่มี spinal cord อยู่ในก้อนนี้ด้วยจึงมีความผิดปกติทางระบบประสาทขึ้นกับบริเวณที่เป็นถ้า lession เกิดบริเวณ L3 หรือเหนือขึ้นมาทำให้เกิดอัมพาตของขาส่วนล่างทั้งหมด (paraplegia) สูญเสียประสาทสัมผัสการขับถ่ายปัสสาวะอุจจาระ
Spina bifida occulta มักไม่ทราบจนตลอดชีวิต
Meningocele พบได้ตั้งแต่แรกเกิดเพราะมีก้อนนุ่มๆให้เห็นถ้าส่องไฟโปร่งแสงมักไม่พบความผิดปกติ
ปากแหว่งเพดานโหว่
สาเหตุ
พันธุกรรม
มารดาขาดสารอาหาร
ไม่แน่นอน
•ติดเชื้อ / ยาและสารเสพติดบางอย่าง
การรักษา
ผ่าตัดตกแต่งริมฝีปาก repair of CLEFT LIP and CLEFT PALATE ผ่าตัดเพคานเมื่ออายุ 6-18 เดือนผ่าตัดปิดสันเหงือกเมื่ออายุ 6-7 ปีแก้ไขใบหน้าเมื่ออายุ 13 ปีขึ้นไปแต่มักจะยึดกฎเกิน10 (Rule of over Ten) คือ BW> 10 Ponds Hb> 10% อายุ> 10 wks
หลอดอาหารตัน / หลอดอาหารมีช่องทางทะลุกับหลอดลม
สาเหตุ
-ไม่แน่นอน
-GA ที่ 8 ทางเดินหายใจและทางเดินอาหารแยกจากกัน
อาการและอาการแสดง
-แรกเกิดมีน้ำลายฟูมปาก
-เมื่อให้นมจะสำลักตัวเขียว
-หายใจลำบาก
-ท้องป่อง
-อาหารสำลักไหลย้อนเข้าจมูกและปาก
-ใส่สายNGในปากไม่ได้
การรักษา
-ผ่าตัดนำหลอดอาหารที่เป็นถุงตันมาเปิดที่คอเรียกว่า cervical esophagostomy เพื่อระบายน้ำลายป้องกันการสำลักสู่หลอดลมและปอด
-ผ่าตัดทำ Gastrostomy เพื่อให้อาหาร
-ผ่าตัดทำหลอดอาหารการพยาบาล
-prepost operative care
ความผิดรูปของทวารหนักและเรคตั้มแต่กำเนิด
อาการทางคลินิค
Male
-ทวารหนักภายนอกปกติแต่ส่วนสูงขึ้นไปตัน (Rectal atresia)
-ขี้เทาออกมากับทางเปิดปัสสาวะ (rectal pouch)
-ขี้เทาออกมากับทางเปิดปัสสาวะ (rectal pouch) พบรูเปิดที่ฝีเย็บระหว่าง penis กับ scrotal sac
Fennale
-พบทางติดต่อเหนือ hyment tag มีขี้เทาออกมาทางช่องคลอด
-พบทางติดต่อเหนือ hymere tag มีปีเทาออกมาทางช่องคลอด
-รูเปิดติดต่อกับ vestibule
-พบรอยต่อที่ควนจะเป็น anus ขึ้นไปจนถึง labia minora
-อวัยวะเพศผิดรูปไม่พบ nclu orifice ขี้เทาเเละปัสสาวะออกทางเดียวกัน
การดูแลรักษา
-ผ่าตัดทันในรายที่ไม่มีรูทวาร (anorectat agenesis), ไม่มีรูเชื่อมต่อ (no fistula) และส่วนปลายของเรคต็มตัน (rectal atresia) ทำให้ทารกแรกเกิดถ่ายขี้เทาไม่ได้มีอาการท้องอืดมากขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลผ่าตัดรักษาทันทีอาจเกิดลำไส้แตกทะลุ
-ได้ส่วนในทารกที่ไม่มีรูทวารและมีรูเชื่อมต่อทำให้ถ่ายขี้เทาอุจจาระออกมาได้บ้างท้องอืดน้อยการดูแลผ่าตัดรักษาไม่ต้องรีบทันที
กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม
สาเหต
โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่งพบได้ร้อยละ 95%
มีโครโมโซมทั้งปกติในคนเดียวกันได้พบได้ร้อยละ 1
โครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับคู่ที่ 21 พบได้ร้อยละ 4
การป้องกัน
โดยการวินิจฉัยก่อนคลอดปัจจุบันมักทำกันในหญิงตั้งครรภ์ที่อัตราเสี่ยงสูงเช่นอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไปโดยแพทย์สามารถเจาะน้ำคร่ำมาตรวจดูโครโมโซมของเด็กในครรภ์ว่าผิดปกติหรือไม่หากพบความผิดปกติคู่สามีภรรยาอาจเลือกยุติการตั้งครรภ์ได้ก่อนการวินิจฉัยก่อนคลอดควรปรึกษาแพทย์เสมอ