Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดทมีคีวามผดิปกตทิ่พีบบ่อย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดทมีคีวามผดิปกตทิ่พีบบ่อย
ภาวะหายใจลำบากจากการขาดสาร SURFACTANT
สาเหตุ
ขาดสารSURFACTANTเริ่มสร้างเมื่อ GA 22 WKs ปริมาณเพียงพอเมื่อ GA 35 WKs
อาการและอาการแสดง
ทารกมีปีกจมูก (Nasal flaring / Ala nasi) มีการใช้กล้ามเนื้อช่วยการหายใจ (rettraction)
เสียงกลั้นหายใจในระยะหายใจออก (Expiratory Grunting)
หายใจเร็ว (thachypnia)> 60 / min) หรือหายใจลำบาก (Dyspnea) (Dษรone) = เขียว (cyanosis) พบหลังคลอดไม่เกิน 6 ชั่วโมง
มีเสียงคราง (moaning
ลักษณะการหายใจไม่สัมพันธ์กันระหว่างทรวงอกและหน้าท้อง
เสียงหายใจลดลงมีหยุดหายใจ
การรักษา
ให้เลือดรักษา Hct 40-45%-การให้ยา ATB กรณีปอดอักเสบ
การให้สาร Surfactant-ถ้ามี Respiratory Failure ใช้เครื่องช่วยหายใจป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเช่น PDA, BPD, Pneumothorax
การควมคุมอุณหภูมิทารกเพื่อลดการใช้ O,-ให้ O, โดยรักษาระดับ Pao, ให้อยู่ระดับ 50-70 mmHg ระดับ PaCO2 40-50 mmHg-การให้ Fluid และ Electrolyte งดน้ำและอาหาร 48 hrแรกการให้สารอาหาร
กลุ่มอาการสูดสำลักขี้เทา
เกิดจากทารกสูดสำลักขีเทาปนอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในทางเดินหายใจอาจเกิดขณะอยู่ในครรภ์ระหว่างคลอดหรือทันทีหลังคลอดอุบัติการณ์-10% ของการคลอด 4GA 42 wks พบ 35-4099)-GA <37 คลอดท่ากัน
ไม่ค่อยพบ 4 <34 wks ยังไม่มีระบบประสาทซิมพาเธติค
อาการและอาการแสดง
-มักเป็นเด็ก post-term
-ผิวเล็บและสะดือมีสีเหลืองปนเขียวของขี้เทา
-ปลายมือปลายเท้าเขียวCyanosis
-หน้าอกโป่งหรืออกถัง (barrel chest)
-หายใจเร็วอกปุ่มปีกจมูกบาน
-ฟังปอดมีเสียง rhonchi และ Crepitation
-อาจพบ pneumothorax
การรักษา
ระยะแรกในห้องคลอด
-หลังคลอดดูดขี้เทาและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกมากที่สุดก่อนทารกหายใจครั้งแรกเพื่อลด aspiration
-ไม่หายใจ / หายใจผิดปกติ: ใส่ EIT และ suction โดยใช้สาย Suction ถ้าดูดไม่ออกให้ใช้ meConium aspirator แล้วค่อยๆเลือนท่อออก
-ถ้าไม่ดีขึ้นรีบให้ 0, และ PPV
-หายใจดีและอาการคงที่ใส่ OG ดูดน้ำคร่ำแล้ขี้เทาออกจากกระเพราะและขี้เทาให้หมดเพื่อป้องกันทารกอาเจียนและสำลักขีเทาอีกร
ระยะหลังในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด
ให้ 0, ให้ Pao, ให้อยู่ระดับ 80-100 mmHg)
ให้ ATB
รักษาด้วย CPAP
ให้สาร SURFACTANT
โรคปอดเรื้อรัง
โรคปอดเรื้อรังในทารกซึ่งเกิดตามหลังใช้เครื่องช่วยหายใจและO, ความเข้มข้นสูงๆฆ่าน 28 วัน) ทำให้ทารกหย่า 0, ไม่ได้
อุบัติการณ์พบร้อยละ 70 ในทารก 500-1, 000กรัมร้อยละ 40 ในทารกน้ำหนัก 1, 001-1, 250 กรัม
สาเหต
พิษของ O, (Oxygen toxicity); การสัมผัสกับ 0, เป็นเวลานานและความเข้มข้นสูงๆพิษส่วนใหญ่เกิดกับเยื่อบุหลอดลมทำให้ cilia ทำงานได้ไม่ดี
บาดแผลจากแรงดัน (Barothrauma) มีผลต่อเนื้อปอดโดยเฉพาะปอดที่แข็งและไม่ยืดหยุ่นทำให้ปอดขยายตัวมากกว่าปกติและถุงลมแตก
อาการและอาการแสดง
Wean of ventilator ไม่ได้
ทารกต้องการออกซิเจนนาน 28 วันหรือมากกว่า30วัน)
ทารกหายใจเร็วหายใจลำบาก
ฟัง Iung พบ wheezing หรือ rales
ถ้ารุนแรงเขียวเป็นระยะจากหลอดลมหดเกร็ง (bronchospasm)
ท้องอืดอาเจียนหลังให้นมหรือภาวะสารอกอาหาร ABG พบ, Pa0, และ Paco, สูงและ acidosis
การรักษา
ใช้ปริมาณ 0, ต่ำที่สุดแก่ทารก keep gaO, ในหลอดเลือดแดง (50-70 mmFig keep CaCO, 55 mmHg)
ความดันสูงสุดที่ให้แก่ทารกขณะหายใจเข้า (Peak inspiration pressure PIP) ควรตั้งให้ต่ำสุดและลดPIPลงเร็วเท่าที่พยาธิสภาพของปอดจะอำนวยโดยดูจาก PaCO, เป็นระยะ
ระวังการให้สารน้ำมากเกินไปในระยะแรกรักษา
พยายามปิด PDA ให้เร็วที่สุดในกรณีที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
Off tubeให้เร็วที่สุด
ใช้สารลดแรงตึงผิวในเด็กเพื่อป้องกันและรักษา RDs ในทารกน้ำหนักตัวน้อยมากที่สุด (ELBW)
การหยุดหายใจในทารกแรกเกิดคลอดก่อนกำหนด
Periodic breathing
โดยจะมีการหายใจไม่สม่ำเสมอหยุดหายใจไม่เกิน 15 วินาที
D-SAT ไม่พบอัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจและสีผิว (ไม่เขียว / ซีต)
พบในระยะ 2-3 สัปดาห์แรก
Apnea
หยุดหายใจเป็นระยะนานถึง (20 วินาที)
มีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจชาลง (<100 ครั้ง / นาที)
การดูแลรักษา
ดูดเสมหะและให้ออกซิเจนในทารกเขียว
ให้ยากระตุ้นการหายใจ Amminophyline (เฝ้าระวัง HR 2 180 hold ยาไว้ก่อน)
กระตุ้นบริเวณผิวหนังเช่นการลูบแขนขาจัดท่านอนให้ทางเดินหายใจเปิดโล่ง
การใช้เครื่องช่วยหายใจกรณีที่ทารกยังคงมี Apnea เป็นเวลานานและบ่อยครั้ง
RETINOPATHY of prematurity: ROP
เป็นความผิดปกติของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงจอประสาทตา
สาเหตุ
-การได้รับ Pa 02
-vasoconstriction นานๆทำให้เส้นเลือดตีบตัน
การดูแลรักษา
-การตรวจตา
-ด้วยความเย็น
-ผ่าตัด
-ให้ 02 อย่างเหมาะสม
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
การศูนย์เสียความร้อน
การนำ(conduction)
การพา (convection)
การระเหย (evaporation)
การแผ่รังสี (Radiation)
ผลเสียของภาวะอุณหภูมิกายต่ำค
-น้ำตาลในเลือดต่ำ
-เลือดเป็นกรด
-ต้องการใช้ออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น
-น้ำหนักไม่ขึ้น
-DIC
-TVH
-เลือดออกในปอด
-APNEA
-PDA
การป้องกัน
-ป้องกันการศูนย์เสียความร้อนทันทีหลังคลอดคงอุณหภูมิผิวหนังไว้ที่ 36. 5 องศาเซลเซียส
-ปรับอุณหภูมิห้องคลอดสูงกว่า 25
-เช็ดตัวให้แห้ง
-ห่อศีรษะทาร / สวมหมวก
-เคลื่อนย้ายเด็กควรใช้incubatorหรือผ้าขนหนูหนาอุ่นหุ้ม
-ใช้ Plastic Shield
-ทารก> 1, 800 g ไม่มีปัญหาใดๆไว้ใน crib
-<1, 800 g on Incubator set temp ตู้ตาม NTE (Neutral thermal environment)
-On radiant warmer กรณีต้องการให้ความอบอุ่นอย่างรวดเร็ว
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง
Pathological Jaundices เหลืองภายใน 24 hr หลังคลอด bilirubin สูงเกิน 5 mg / dL จะเหลืองนานกว่า 2 wks อาจแสดงอาการป่วยอย่างอื่นร่วมด้วยเช่นซึมไม่ดูดนมท้องอืด
Breast milk jaundice พบประมาณร้อยละ 1-2 ในทารกแรกเกิดที่ได้รับนมมารดาซึ่งพบว่าในน้ำนมมารดามีสารบางชนิดที่ทำให้ระดับบิริลูบินเพิ่มขึ้นมากกว่า 20 mg เนื่องจากสารดังกล่าวป้องกันการขับบิริลูบินออกทางลำไส้ซึ่งพบว่าทารกจะเริ่มมีอาการตัวเหลืองในวันที่ 4-7 และมีระยะเวลาของอาการประมาณ 3-10 สัปดาห์
Physiological (normal) jaundice V พบในช่วงวันที่ 2 – 4 และจะหายไปเองใน 1-2 สัปดาห์ / เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้น: 90 วัน preterm 70-90 วัน / Enterohepatic circulation: มีลำไส้อุดตันหรือไม่ถ่ายขี้เทา V Bilirubin TERM ไม่เกิน 12 mg / dl Preterm ไม่เกิน 15 mg / dl
อาการและอาการแสดง
มีรอยช้ำเลือดตามตัวอาจพบ petichial หรือ pyrpuric spot
ซึมถ้าระดับบิริลูบินสูงมากๆ
อาการตัวเหลือง
ตับหรือม้ามโตพบใน hermolytic disease of the newborn หรือทารติดเชื้อในครรภ์
การรักษา
การรักษาทั่วไปให้ทารกได้น้ำและพลังงานเพียงพอเพื่อให้ถ่ายขี้เทาและปสสาวะได้ดีช่วยการดูดกลับ enterohepatic circulation ป้องกันเลือดเป็นกรดขาดออกซิเจนหรือน้ำตาลต่ำ
การส่องไฟ (Phototherapy) แสงไฟจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของโมเลกุลของบิลิรูบินทำให้เกิด isomerization ของ unconjugated บิลิรูบินซึ่งปกติละลายน้ำไม่ได้ให้กลับกลายมาเป็นสารที่ละลายน้ำได้สามารถขับถ่ายสารนี้ได้ทางปัสสาวะและทางอุจจาระโดยออกมาทางน้ำดี
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Blood exchange)
เป็นการรักษาทารกที่มีตัวเหลืองที่ได้ผลเร็วที่สุดและมีประสิทธิผล
ปลี่ยนถ่ายเลือดสำหรับทารกครบกำหนดน้ำหนักแรกเกิดและสุขภาพปกติคือเป็น blood group incompatibility หรือ hemolytic disease อื่นๆทำเมื่อบิลิรูบินสูงกว่า 20 มก. / ดล. ยกเว้นบิลิรูบินสูงกว่า 15 มก / ดล. ในอายุ 24 ชั่วโมงแรก
ในกรณีที่ไม่ใช่สาเหตุจาก hemolytic disease จะทำเมื่อบิลิรูบินสูงกว่า 23 มก. / ดล. สำหรับทารกอายุ 3-5 วัน, บิลิรูบินสูงกว่า 25 มก. / ดล. สำหรับทารก> 5 วัน
ภาวะลำไส้เน่าตาย
มักพบในทารกคลอดก่อนกำหนด (Preterm) น้ำหนักตัวน้อย (Low birth weight) ก่อนกำหนด (preterm) ร้อยละ 88 และเป็นทารกคลอดครบกำหนด (term) ร้อยละ 12 มีปัจจัยเสี่ยงระหว่างมารดาตั้งครรภ์ขณะคลอดหลังคลอด•ส่วนใหญ่เกิดหลังจากได้รับนมแล้วระหว่าง 7-14 วันหรือนานกว่า
อาการและอาการแสดง
ท้องอืดกินนมไม่ได้หรือมีนมเหลือค้างอยู่ในกระเพาะอาหารบ่อยๆ
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร (อาเจียน / ถ่ายเป็นเลือด)-อาจมีอาการแบบ SEPSIS คือถ่ายเหลวซึมหยุดหายใจช็อค
การรักษา
ให้NPOสำรอาหารทางหลอดเลือดดำประมาณ 1-2 สัปดาห์
ให้อาหารดูดสารเหลวและลมออก
ทารกลำไส้อักเสบเน่าตายในระยะที่ 1/2 รักษาโดยการไม่ผ่าตัด
ให้สารเหลวอีเลคโทรลัยต์และสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามการสูญเสียและความจำเป็นที่ใช้ในแต่ละวัน
ให้ยาปฏิชีวนะครอบคลุมกว้างทางหลอดเลือด (กลุ่ม penicillin / cephalosporine และ metromidazone)-obs. Abdominat Sings / mornitoring เพื่อประเมินเปลี่ยนแปลงที่เลวลง