Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวกับวิชาชีพ 3.5 กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวกับ …
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวกับวิชาชีพ
3.5 กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวกับ
การประกอบวิชาชีพเเละการผดุงครรภ์
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
กำหนดหลักเกณฑ์เเละเงื่อนไขในการปฏิบัติ ดังนี้
บุคคลที่สามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
พนักงานอนามัย
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
ด้านการรักษาพยาบาลอื่น 》การฉีดเซรั่มพิษงู การสวนปัสสาวะ
ด้านศัลยกรรม》ผ่าฝี เย็บบาดเเผล ทำเเผล
ด้านอายุรกรรม》ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการของโรค
ด้านสูตินารีเวช》ทำคลอดในรายปกติ การช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่คลอดผิดปกติ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งวางเเผนครอบครัว ถอดใส่ห่วงอนามัยได้
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง ผู้ช่วยพยบ.สามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ชั้นสองที่ผ่านการอบรม สามารถวางเเผนครอบครัวภายใต้เงื่อนไข
ผู้ที่กระทรวง ทบวง กรม จะมอบประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องตรงระเบียบกำหนด
ผู้ที่ได้รับมอบหมาย จะทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ปฏิบัติราชการ อยู่ในสถานพยาบาลเท่านั้น
เป็นตามหลักเกณฑ์
อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล/การพยาบาลผดุงครรภ์ ที่ผ่านการอบรมสามารถถอดฝังยาคุมกำเนิดได้เเล้วเเต่กรณี
ผู้ที่ได้รับมอบประกาศนียบัตรการศึกษาในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาล สามารถให้ยาสลบชนิด Gerneral anesthesia
บุคลที่ผ่านอบรมวิชาวิทยาศาสตร์การเเพทย์ทำประกอบวิชาชีพการพยาบาลได้
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรมทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของสมาคมวางเเผนครอบครัวเเห่งประเทศไทย จ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราประทับได้
การใช้ยาตามบัญชียา ใช้ตามที่หน่วยงานราชการของกระทรวงกำหนด
ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผดุงครรภ์โบราณกระทรวงสาธารณสุข ทำการฝากครรภ์เเละทำคลอดรายปกติ
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การปฐมพยาบาลบาดเเผลสด กระดูกหัก
การเจาะเลือดหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา
การพยาบาลเบื้องต้น
กำหนดสิทธิเเละหน้าที่ในการป้องกันเเละรักษาสุขภาพประชาชน
》 เกิดความปลอดภัยจากอาการเจ็บป่วย และมีสุขภาพอนามัยที่ดี
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช 2541
ยกเลิกพระราชบัญญัติฉบับเดิม พุทะศักราช 2540
คำจำกัดความตามมาตรา 4
สถานพยาบาล》สถานที่/ยานพหนะที่จัดไว้เพื่อประกอบโรคทางศิลปะ
การประกอบโรคทางศิลปะ
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล/ผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพทันตกรรม
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ผู้ป่วย
ผู้รับอนุญาต
ประเภทสถานพยาบาล
1) ประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน(ผู้ป่วยไป-กลับ) Ex. คลินิก
2) ประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน(ผู้ป่วยไป-กลับ,ค้างคืน) Ex.โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการสถานพยาบาล
คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตครบถ้วน
2) มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
3) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา
1) อายุไม่น้อยกว่า 20 ปีบริบูรณ์
4) ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
4) ประสงค์จะเลิกกิจการต้องทำรายงานเเจ้งผู้อนุญาตอย่างน้อย 15 วัน
5) การเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ต้องทำหนังสือเเจ้งภายใน 30 วันที่มีการเปลี่ยนเเปลง
3) ย้ายสถานพยาบาลต้องขอใบอนุญาตใหม่
2) เเสดงรายระเอียดข้อมูลในสถานพยาบาล ชื่อสถานพยาบาล รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ อัตราค่ารักษาสิทธิผู้ป่วย
1) เเสดงใบอนุญาตเปิดเผย เห็นง่าย ในสถานพยาบาลเท่านั้น
6) ไม่เรียกเก็บเงิน หรือค่าบริการอื่นๆเกินอัตราที่เเสดงไว้
กฎหมายที่ว่าด้วยการควบคุมสถานที่ตรวจรักษาโรคเป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ
อายุใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
การขอต่อใบอนุญาต ต้องยื่นคำร้องก่อนใบอนุญาตหมดอายุ
อายุถึง 10 ปีนับตั้งเเต่ออกใบอนุญาต
การขออนุญาตดำเนินการสถานพยาบาล พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช 2541
2) ไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนเเล้วสองเเหล่ง
3) สามารถควบคุมดูเเลกิจการสถานพยาบาลได้
1) ผู้ประกอบโรคศิลปะ
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
2) ควบคุมมิให้ผู้ป่วยค้างคืนเกินเตียงที่กำหนด
3) ควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายวิชาชีพ
1) ควบคุมไม่ให้ประกอบวิชาชีพผิดสาขา หรือบุคคลที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพมาทำงานในสถานพยาบาลที่ตนรับผิดชอบ
4) ควบคุมสถานพยาบาลให้สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักอนามัย
หน้าที่ร่วมของผู้รับอนุญาตเเละผู้ดำเนินการสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช 2541
2) จัดให้มียา เครื่องใช้ ตามชนิดที่กำหนดในกระทรวง
3) จัดให้มีรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ผู้ป่วย ตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่า 5 ปีนับตั้งเเต่วันที่จัดทำ
1) จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตลอดเวลาทำการ
4) ควบคุมดูเเลกิจการสถานพยาบาลเป็นไปตามเป้าหมาย
5) ดูเเลช่วยเหลือผู้ป่วยในสภาพที่อันตราย ต้องได้รับโดยฉุกเฉิน
6) ควบคุมไม่ให้โฆษณาหลงเชื่อ หรือเกินความจริง
7) ไม่จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ
โทษพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช 2541
1) การปิดสถานชั่วคราว
กระทำหรือละเว้นการกระทำ จนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย
การปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพ.ร.บ.
ไม่ชำระค่าธรรมเนียมประกอบกิจการ
2) โทษทางอาญา
ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตราย》จำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท ทั้งจำทั้งปรับ
โฆษณาอันเป็นเท็จ โอ้อวดเกินความจริง》ปรับไม่เกิน 20,000 บาท จนกว่าจะระงับการโฆษณานั้น
ไม่ควบคุมสถานพยาบาลให้เป็นไปตามกฎกระทรวง》จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ทั้งจำทั้งปรับ
จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ》 จำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท ทั้งจำทั้งปรับ
ไม่เเสดงใบอนุญาตในที่เปิดเผย ไม่เเจ้งอัตราค่ารักษาการพยาบาล 》ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์กับพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช 2541
3) ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
สถานพยาบาลการผดุงครรภ์ ให้บริการมารดาทารกก่อน-หลังคลอดปกติ รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนไม่เกิน 30 เตียง
สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง
คลินิกการพยาบาลเเละผดุงครรภ์ การดูเเลมารดาทารก ยกเว้นการทำคลอด
1) การเเต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาล
2) ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช 2523
โรคติดต่อ》โรคที่รัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อ
กฎหมายที่ว่าด้วยเรื่องโรคติดต่อ การควบคุม การเเพร่กระจาย
การเเจ้งความโรคติดต่อ 》แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และส่งต่อสาธารณสุขทันที
ผู้รับเเจ้งความสาธารณสุข
หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขเมืองพัทยา
ผู้ว่าราชการ/นายอำเภอ
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ
การเเจ้งความโรคติดต่อมาตรา 7
กรณีในสถานพยาบาล》เจ้าหน้าที่ในสถานพยาบาลนั้น
กรณีชันสูตรทางเเพทย์》เจ้าหน้าที่/ผู้รับผิดชอบทำการชันสูตร
กรณีเกิดขึ้นในบ้าน》เจ้าบ้าน เเพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล
การดำเนินการเเจ้งความ
กรณีในสถานพยาบาล》เเจ้งชื่อ/ที่อยู่เเละสถานที่ทำงานของตน,เเจ้งชื่อ/ที่อยู่ของผู้ป่วย, วันเริ่มป่วย,อาการสำคัญ,การวินิจฉัยขั้นต้น
กรณีชันสูตรทางเเพทย์》 เเจ้งชื่อ/ที่อยู่เเละสถานที่ทำงานของผู้ส่งวัตถุตัวอย่าง,วินิจฉัยขั้นต้น,ผลการชันสูร
กรณีเกิดขึ้นในบ้าน》เเจ้งชื่อ/ที่อยู่ที่สัมพันธ์กับผู้ป่วย,วันเริ่มป่วย,อาการสำคัญ
*โรคที่ต้องเเจ้งความ 23 โรค
อหิวาตกโรค
กาฬโรค
ไข้ทรพิษ
ไข้เหลือง
ไข้กาหลังเเอ่น
คอตีบ
โรคบาดทะยัก
โปลิโอ
ไข้หวัดใหญ่
ไข้สมองอักเสบ
โรคพิษสุนัขบ้า
ไข้รากสาดใหญ่
วัณโรค
เเอนเเทกซ์
โรคทริคิโนซิส
โรคคุดระบาด(ระยะติดต่อ)
โรคอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกเฉียบพลันในเด็ก
โรคซาร์ส
ไข้ปวดข้อยุงลาย
ไข้เลือดออก
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
โรคเมอร์ส
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
กฎเกณฑ์ในการป้องกันเเละควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
2) หากเกิดโรคติดต่อนอกราชอาณาจักร สามารถประกาศเป็นเขตติดต่อโรคได้
3) ค่าใช้จ่ายต้องปฏิบัติตามเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเเละป้องกันโรคติดต่อ
1) กำหนดการให้ด่านตรวจคนเข้าเมือง เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
โทษตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช2523
2) ไม่ปฏิบัติตามประกาศ/ฝ่าฝืนเข้าไปในเขตโรคติดต่อ》จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 ทั้งจำทั้งปรับ
3) เจ้าของยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าหน้าที่ โดยไม่จอดพาหนะตามที่กำหนด》จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 50,000 บาท ทั้งจำทั้งปรับ
1) ไม่เเจ้งข้อมูลการติดต่อโรคกับพนักงานสาธารสุข》ปรับไม่เกิน 2,000 บาท
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลเเละการผดุงครรภ์กับพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช2523
1) เเจ้งความโรคติดต่อ เมื่อสงสัยว่าผู้ที่มาขอรับบริการป่วยด้วยโรคติดต่ออันตราย ภายใน 24 ชม.
2) ตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุมการเเพร่ระบาดของโรค การเเยกผู้ป่วย เฝ้าดูอาการ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อฉบับปรับปรุง พุทธศักราช2558
โรคติดต่อเฝ้าระวัง》ติดตาม,ตรวจตรวจสอบ,เก็บข้อมูลต่อเนื่อง
คำจำกัดความ
โรคระบาด
พาหะ
ผู้สัมผัสโรค
ระยะติดต่อโรค
ระยะฟักตัว
คุมไว้สังเกต
เเยกกัก กักกัน
พาหนะในการขนส่ง
โรคติดต่ออันตราย》รุนเเรง,เเพร่กระจายสู่คนอื่นรวดเร็ว
อำนาจรัฐมนตรีในการประกาศำเเนะนำ เพื่อประโยชน์ในการป้องกัน/ควบคุม
1) เเสดงชื่อ อาการสำคัญ เเละโรคติต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
2) กำหนดด่านเข้าออกปะเทศเป็นด่านควบคุมโรค เเละยกเลิกการเข้าออกประเทศเมื่อมีการระบาด
3) การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โรคติดต่อ》โรคที่เกิดเชื้อโรคเเพร่มาสู่คนทางตรง/อ้อม
บทบาทหน้าที่พนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช 2523
3) ห้ามไม่ให้ออกจากยานพหนะก่อนได้รับการตรวจจากเจ้าหน้าที่พนักงาน
4) ตรวจตราเจ้าของยานพหนะให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งจำกัดของสิ่งที่เป็นอันตรายต่อพาหนะ
2) เจ้าของยานพหนะยื่นเอกสารต่อเจ้าหน้าที่พนักงาน
5) ห้ามไม่ให้เจ้าของพาหนะที่ไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเข้ามาในประเทศไทย
1) เจ้าของยานพหนะต้องเเจ้งกำหนดวัน เวลา สถานที่ก่อนจะเข้ามาถึงด้านควบคุมโรคระหว่างประเทศ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ พุทธศักราช 2545
ประกอบด้วย
ค่าบริการ
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
เครือข่ายหน่วยบริการ
สถานบริการ หน่วยบริการ
กฎหมายที่มุ่งเน้นให้เกิดระบบบริการหรือระบบบริการการพยาบาลที่มีมาตรฐาน โดยมีองค์กรกำกับดูเเล
สิทธิการรับบริการสาธารณสุขตามหลักประกันสุขภาพ
มาตรา 6 การเลือกใช้สิทธิมาตรา 5 เพื่อเลือกหน่วยบริการประจำ
มาตรา 5 บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
มาตรา 38 จัดตั้ง"กองทุนหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ" เพื่อส่งเสริมให้บุคคลเข้าถึงการบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง
มาตรา 42 ผู้รับบริการได้รับความเสียหายจากหน่วยบริการ เเล้วไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาสมควร สำนักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเเก่ผู้กระทำผิดได้
มาตรา 60 หน่วยบริการกระทำผิดตามมาตรา 58 หรือ มาตรา 59
สั่งเพิกถอนการขึ้นทะเบียนของหน่วยบริการนั้น
เเจ้งต่อรัฐมนตรีเเละดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นๆ
เเจ้งรัฐมนตรีผู้กำกับให้ดำเนินการทางวินัย
เเจ้งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีการสอบสวน/วินิจฉัยข้อกล่าวหา
การบริการสาธารณสุข》การบริการด้านการเเพทย์เเละสาธารณสุข ในการสร้างเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ
พระราชบัญญัติสุขภาพเเห่งชาติ พุทธศักราช 2550
สุขภาพ》ความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ ปัญญา สังคม
สิทธิเเละหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 6 กลุ่มบุคคลที่มีความจำเพาะในเรื่องสุขภาพต้องได้รับการสร้างเสริม เเละคุ้มครองอย่างเหมาะสม Ex. ผู้หญิง เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ
มาตรา 7
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคล ห้ามเปิดเผย เว้นเเต่ได้รับอนุญาตทางกฎหมาย
กรณีผู้รับบริการปกปิดข้อมูลให้ข้อมูลเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับความเสียหาย ยกเว้นกรณี
1) ผู้รับบริการอยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต
2) ผู้รับทราบไม่อยู่ในฐานะรับข้อมูลได้(จิตบกพร่อง,วิกลจริต) ผู้ดูเเลสามารถให้ข้อมูลเเทนได้
มาตรา 5 บุคคลล้วนมีสิทธิในการดำรงชีวิตในสภาพเเวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
กฎหมายว่าด้วยเรื่องสุขภาพ เพื่อใช้วางกรอบเเละเป็นเเนวาทางในการกำหนดนโยบายด้านสุขภาพของประเทศ
สาระสำคัญของธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ
7) ส่งเสริมสนับสนุนสุขภาพด้านเเพทย์เเผนไทย
8) การคุ้มครองผู้บริโภค
6) การบริการสาธารณสุขเเละการควบคุมคุณภาพ
9) การสร้างเเละเผยเเพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
5) การป้องกัน/ควบคุมโรค เเละปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
10) การเผยเเพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
4) การสร้างเสริมสุขภาพ
11) การผลิตเเละพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพ
3) การมีหลักประกันเเละคุ้มครอง
12) การเงินการคลังด้านสุขภาพ
2) คุณลักษณะที่พึงประสงค์เเละเป้าหมายของระบบสุขภาพ
1) ปรัชญาเเละเเนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
นางสาวสุพรรษา เเย้มวาที เลขที่ 42 รุ่น 36/2