Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
วัณโรค
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
การติดต่อ
ไอ หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว
2-10 สัปดาห์
อาการ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
การวินิจฉัย
ประวัติสัมผัมโรค
ภาพถ่ายรังสีปอด
การย้อมสีทนกรด
การรักษา
เด็กอายุกว่า 4 ปี TT ผลบวก ให้ INH นาน 2-4 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัคซีน BCG
โรคไข้เลือดออกเดงกี่
ระยะไข้สูง
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีนำ้มูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโต หรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
ระยะวิกฤตหรือซ็อก
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมง
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้องมากเกิดภาวะซ็อก
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายนำ้ อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะซ็อก
ความรุนแรง
มีเลือดออก เช่น จุดจำ้เลือดออกตามตัว มีเลือดกำเดา อาเจียน ถ่ายอุจจาระสีดำ
ผู้ป่วยซ็อก มีชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็น เหงื่อออก กระสับกระส่าย
ระยะฟื้นตัว
ผู้ป่วยที่ไม่ซ็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า
อาจมีผื่นลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผื่นสีแดง
การวินิจฉัย
การเจาะเลือด Hct /WBC สูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตับอักเสบ เอนไซม์ตับเพิ่มมากขึ้น
การเจาะหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้เลือดออก พบภายใน 5 วันแรกของโรคเท่านั้น
อาการ
มีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน และร่วมกับมีอาการอย่างน้อย 2 ข้อ คือปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนื้อ
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้ ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือด
ระยะซ็อก มุ่งแก้อาการซ็อกและอาการเลือดออก ให้สารนำ้ ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารนำ้กลับเข้าสู่หลอดเลือด จำเป็นต้องหยุดหรือลงให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
การเช็ดตัวลดไข้
การทำความสะอาดร่างกาย
การบันทึกสญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
เกร็ดเลือดตํ่า ระมัดระวังการเกิดการบาดเจ็บ
การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ห้ามสวน
วัดการบันทึกสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
เอดส์ในเด็ก
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสHIV
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
อาการ
นำ้หนักลด
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีไข้เรื้อรัง มากกว่า1เดือน
มีอาการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
ปากเป็นแผล
ไอเรื้อรัง
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
แม่เป็นเอดส์
การวินิจฉัย
HIV antibody test ตวรจพบเชื้อ HIV หลังติดเชื้อ 2 สัปดาห์-6 เดือน
ViralCultre
การป้องกัน รักษา
งดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
เลือกทำการผ่าตัดอกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและนำ้เดิน
โรคมือเท้าปาก
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
ทางการหายใจ
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์
ระยะฟักตัว
2-6 วัน
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ตํ่าๆ เจ็บคอ มีผื่น
มีแผลหรือผื่นในช่องปาก ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมผีปาก เป็นตุ่มใส
อาการเจ็บปาก ตวรจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
การวินิจฉัย
ดูจากอาการและอาการแสดง ตวรจร่างกายพบรอยโรคบริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับไข้
การเก็บอุจจาระส่งตวรจ
ตวรจนำ้ไข้สันหลัง
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบบรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายเองได้ โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน
การป้องกัน
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆโดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อมหรือ สัมผัมกับนำ้ลาย/นำ้มูกเด็ก
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคแผลพุพอง
เป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังในบริเวณที่เป็นชั้นตื้นๆของหนังกำพร้า พบบ่อยในวัยเด็ก และมีการติดต่อง่าย
สาเหตุ
จากผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรียชนิด Streptococcus pyogenes และชนิด staphylococcus aureus วึ่งเป็นเชื้อที่อาจพบได้บริเวณผิวหนังและทางเดินหายใจ
อาการ
มักพบเกิดเป็นรอยโรคที่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขนขาที่มีแผลอยู่ก่อนแล้ว
การวินิจฉัย
การสอบถามประวัติอาการ ประวัติการเกิดแผล ประวัติการสัมผ้สโรค
การตัดชิ้นเนื้อจากรอยโรคเพื่อนการตวรจทางพยาธิวิทยา
การรักษา
การดูแลแผลโดยการทำแผลด้วยนำ้เกลือทำแผล
การกำจัดเชื้อโรค คือ การทานยาปฏิชีวนะ
การป้องกัน
เมื่อมีแผลเกิดขึ้นควรรักษาความสะอาดแผลเสมอ
ตัดเล็กให้สั้น ไม่แกะ เกา บีบ แผล
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
สาเหตุ
หูดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี หรือ ฮิวแมน แปปิโลมา ไวรัส
การติดต่อ
หูดเกิดจากการติดต่อที่สามารถติดต่อได้จากสัมผัมถูกคนที่เป็นหูดโดยตรง
ระยะฟักตัว
เมื่อเชื้อไวรัสแทรกซึมเข้าไปในเซลล์ผิวหนังก็จะเกิดการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว
อาการ
หูดที่พบได้บ่อยที่สุด มีลักษณะนูนเป็นตุ่มกลมแข็ง ผิวหยาบ ขรุขระออกเป็นสีเทาๆ เหลืองๆ
การวินิจฉัย
ดูอาการของผู้ป่วย การตวรจลักษณะของก้อนเนื้อ และอาจต้องตัดชิ้นเนื้อเพื่อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
การรักษา
ด้วยยาใช้ภายนอก การรักษาด้วยความเย็น
การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
การผ่าตัด ใช้สารเคมี
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่มเชื้อรากลุ่มนี้จะก่อโรคในส่วนของผิวหนังที่สร้างเคอราตินเท่านั้น
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
การตวรจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ในรายที่ผื่นเป็นบริเวณไม่กว้างมากนักได้แก่ topical imidazole tolnflate Whitfield ointment ทาวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น นาน 4-6 สัปดาห์
โรคกลากที่ลำตัว
ลักษณะผื่นมีได้หลายแบบแต่ที่พบบ่อยที่สุดคือวงแดงขอบเขตชัดเจนมีตุ่มนำ้ใสเล็กๆ และ scale ที่บริเวณขอบของผื่น
โรคกลากที่ขาหนีบ
พบบ่อยในผู้ชาย โดยเฉพาะบริเวณขาหนีบและต้นขา มักไม่เป็นที่บริเวณอัณฑะ
การรักษา
ใช้ยาในกลุ่ม Imidazole cream ทาวันละ 2 ครั้ง
การวินิจฉัย
ขุดขุยหรือสะเก็ดจากผื่น
การเพาะเลี้ยงเชื้อ ทำเฉพาะในรายที่มีปัญหาทางการวินิฉัยและการรักษา
โรคผิวหนังอักเสบ
สาเหตุ
มักพบในเด็กอายุ 2-3 เดือน และ 2-3 ปีภูมิแพ้พันธุกรรม การติดเชื้อ
การรักษา
ยาลดคัน
ต้องแห้งสะอาดไม่หมักหมม
ถ้าผิวหนังอักเสบมาก อาจใช้ยาต้านเชื้อราร่วมด้วย
โรคติดเชื้อของวัคซีน
โรคบาดทะยัก
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีทั่วไปตามธรรมชาติ เช่นตามพื้นดินและมูลสัตว์
โรคไอกรน
เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียที่สร้างสารพิษแบคทีเรียนั้นติดต่อโดยง่ายดายระหว่างคนต่อคนโดยละอองไอ
โรคโปลิโอ
แขนขาลีบ เกิดจากเชื้อไวรัสสามารถแพร่เชื้อสู่คนได้โดย สิ่งปฏิกูล อาหาร และนำ้ อาจรวม
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดบี
เป็นแบคทีเรียที่สามารถก่อนให้เกิดโรคร้ายแรงได้ เช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบ โรคปอดบวม
โรคคางทูม
เกิดจากเชื้อไวรัส ส่วนใหญ่แล้วอาการไม่ร้ายแรง แต่อาจมีอาการข้างเคียงที่อันตารย อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ สมองอักเสบ ส่วนอาการข้างเคียงอื่นๆ