Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การแบ่งตัวภายหลังการปฏิสนธิ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญของทารกในครรภ์และภายหลังคลอด
พัฒนาการของระบบต่างๆของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของรก สายสะดือ เยื่อหุ้มเด็ก และน้าหล่อเด็ก
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การเจริญของทารกในครรภ์ แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
1) ระยะก่อนเกิดตัวอ่อน (Ovum, Zygote , Blastocyst) เริ่มจากการมีเพศสัมพันธุ์ –
2 สัปดาห์
2) ระยะตัวอ่อน (The Embryonic Stage) ต้นสัปดาห์ที่3- สัปดาห์ที่ 8
3) ระยะตัวแก่ (The Fetal Stage) สัปดาห์ที่9– ครบกาหนดคลอด
การแบ่งตัวภายหลังการปฏิสนธิ
วันที่ 1 แบ่งตัวแบบ mitosis จาก 1 เป็น 2 เซล เรียก Clevage stage
วันที่ 5-6 เจริญเป็น Blastocyst ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจาก morula คือ
1) zona pellucidaหายไป
2) outer cell mass เจริญเป็น trophoblast
3) inner cell mass เจริญเป็นตัวเด็กภายในช่องว่างระหว่างเซลของ inner cell
Mass จะเจริญเป็น blastocoele
วันที่ 7 เกิดการฝังตัวของ Blastocyst ที่บริเวณโพรงมดลูกส่วนบน โดยจะเอาด้านที่มี inner cell mass ที่เรียกว่า embryonic pole แตะลงบนเยื่อบุโพรงมดลูก และแทรกตัวกินทะลุเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของแม่บริเวณมดลูก
วันที่ 13 การฝังตัวเสร็จสมบูรณ์ การที่ตัวอ่อนฝังตัวลงในเยื่อบุโพรงมดลูกของแม่ อาจทาให้มีเลือดออกมาทางช่องคลอดของแม่ เรียกว่า Implantation bleeding
สัปดาห์ที่ 3 ระยะนี้จะมีการเจริญอย่างชัดเจน 3 อย่าง คือ
1) Trophoblast ซึ่งเจริญไปเป็นรกและ chorion
2) Body stake ซึ่งเจริญไปเป็นสายสะดือ
3) Embryoblast ซึ่งเจริญไปเป็น ทารก น้าหล่อเด็ก และ amnion
ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เยื่อบุมดลูกก็จะเปลี่ยนแปลงไปเป็น
decidua หลังจากมีการฝังตัวของตัวอ่อน ซึ่งจะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1) Deciduavera(perietalis) คือส่วนของเยื่อบุรอบผนังมดลูกยกเว้นบริเวณ chorionic vesicle
2) Decidua basalis (serotina) คือ ส่วนของเยื่อบุข้างใต้ chorionic vesicle และติดกับ myometrium
3) Decidua capsularis(reflexa) คือส่วนของเยื่อบุที่ปกคลุม chorionic vesicle หันทางด้านโพรงมดลูก
วันที่ 4 เจริญเป็น morula ลักษณะคล้ายลูกน้อยหน่า มีจานวนเซล 12 – 16 เซล แต่ละเซลเรียกว่า Blastomereวันที่ 5-6 เจริญเป็น Blastocyst ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจาก morula คือ