Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะ ฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่…
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะ ฉุกเฉิน
อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสำคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
:check: สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้
:check: สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีอาการมากหรือหนักกว่าเดิม
:check: สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
:check: สามารถสส่งต่อผู้ป่วยหรือผู็บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
บทบาทของพยาบาลชุมชน เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
:<3:
ด้านการรักษา
ต้องประเมินและจำแนกประเภทของผู้ป่วยและผู้ได้รับบากเจ็บ เพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้
:<3:
ด้านการป้องกัน
ต้องจัดระบบ วางแผน และเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนบุคคลากรให้พร้อมสามารถให้การบริการได้รวดเร็วและปลอดภัย เหมาะสมกับเหตุการณ์
:<3:
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต
ต้องทำการเคลื่อนย้าย และส่งต่อผู็ป่วยไได้อย่างปลอดภัย หรือในกรณีที่ได้กลับบ้าน พยาบาลชุนต้องให้คำแนะนำก่อนจำหน่ายและวางแผนการเยี่ยมบ้าน
การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
1 . การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Detection)
เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นจะมีการแจ้งเหตุโดยพลเมืองดี หรือผู้ที่พบเห็นเหตุการณ์มายังศูนย์สั่งการ โดยศูนย์สั่งการมีหน้าที่ในการจัดชุกปฏิบัติการออกทำการช่วยเหลือ
2. การรายงานเหตุการณ์ / การแจ้งขอความช่วยเหลือ (Reporting)
เป็นการแ้งเหตุไปยังศูนย์สั่งการโดยใช่เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน 1669 ซึ่งจะเรียกศูนบ์สั่งการเหล่านนี้ว่า "Dispatch center" หน้าที่สำคัญของ dispatch center มี 2 ประการ
:red_flag:
คัดแยกความรุแรงของเหตุที่แจ้ง (Priority dispatch)
โดยคัดแยกเป็นระดับสีแดง สีเหลือง หรือวีเขียว
:red_flag:
การให้ตำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นทางโทรศัพท์ Pre-arrival instruction
ซึ่งมีศูนย์สั่งการเพื่อเป็นการช่วยเหลือกู้ชีพเบื้องต้น
3. การดำเนินการตอบสนอง (Response)
เป็นการส่งทีมแพทย์ฉุกเฉิกที่อยู่ใกล้ และมีศักยภาพเหมาะสมที่สุดออกทำการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ โดยรูปแบบการตอบสนองจะเป็นทีมกู้ชีพพื้นฐาน (Basic lift support) หรือ ทีมกู้ชีพขั้นสูง (Advance life support)
4. การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care)
4.1 ประเมินเหุการณ์ (Scene Size Up)
:warning: ประเมินสถานการณ์ที่เกิดชึ้นโดยรอบเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู็ร่วมงาน ผู้ป่วย และบุคคลอื่นๆ
:warning: ประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ (Trauma) จำนวนตำแหน่งของผู้ป่วย หรือผู้บาดเจ็บทั้งหมด และกลไกการบาดเจ็บ (Mechanism of injury)
4.2 การปะเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
เข้าสู่ขั้นตอนการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และส่งต่อในกรณีผู้ป่วยจากการบาดเจ็บ ะเน้นการ Scoop and run คือ จะทำการรักษา ณ ที่เกิดเหตุให้น้อยที่สุด โดยใช้เวลาที่จุดเกิดเหตุไม่เกิน 10 นาที และนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม (Definitive care)
Airway and C-spine
:black_flag: Manual in - line จับศรีษะผู้ป่วยให้อยู่ในแนวเดียวกับสันหลัง และนำ hard collar มาใส่ให้กับผู้ป่วย
:black_flag: Open Air way จัดท่า Head Tilt, Chin Lift ถ้าผู้ป่วยสงสัยเรื่อง C-spine ทำเฉพาะท่า jaw Thrust
Breathing
ประเมินการหายใจ ลักษณะการหายใจ การใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วยหายใจ หายใจเร็ว ตื้น หน้าอกบุ๋ม (Retraction)
Circulation
เป็นการประเมินหาจุดเลือดออก ภาวะช็อค ชีพจร Capillary refiling time ระดับความรู้สึกตัว
Disability*
ประเมิน GCS จำแนกความรุนแรงได้ 3 ระดับ
Exposure and Disability
ดูบาดแผลตามร่างกาย กระดูก แขนขา
5. การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on Transit)
เป็นการดูแลขณะผู็ป่วยอยู่บนรถู็ชีพ
6. การนำส่งโงพยาบาลที่เหมาะสม (Transfer to Definitive care)
:star: Level IV ดูแลกู็ชีพได้เบื้องต้นเท่านั้น และทำการส่งไปยังโรงพยาบาลระดับสูง
:star:: Level III มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินเฉพาะทางอุบัติเหตุสามารถทำเอหซเรย์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีอุปกรณ์ในการมอนิเตอร์ มีระบบปรึกษาศัลยศาสตร์แพทย์ และแพทย์เฉพาะทาง
:star: Level II มีคุณสมบัติเหมือนในระดับ 3 โดยเพิ่มเติมคือ แพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน ผ่าตัดฉุกเฉินได้ 24 ชม.
:star: Level I มีคุณสมบัติเหมือนนระดับ 2 มีระบบในการจัดการควบคุมการเกิดอุบัติเหตุ การป้องกันอุบัติเหตุ และการให้ความรู้ประชาชนทั่วไป
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
ANA แยกผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นเป็น 2 กลุ่ม โดยแบ่งตามสถานที่ที่เกิด Cardiac Arrest
:no_entry:
Out-of-Hospital Cardiac Arrest
ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นที่เกิดขึ้นนอกเขตการบริการของโรงพยาบาล ซึ่งในหนังที่ได้ดูเป็นการเกิดอุบัติเหตุนอกโรงพยาบาล มีการรายงานเหตุเกิดและรอการรักษาผู้ป่วยที่โรงพยาบาล
:no_entry:
In-Hospital Cardiac Arrest
ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นในระหว่างการรักษาในโรงพยาบาล
Basic Lift Support : BLS
Advance life support
หลักการเตรียมรับผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
:warning:
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ (pre-impact phase)
การเตรียมแผน เพื่อรองรับสถานการณืทั้งด้านบุคลากร สถานที่ ยา และเวชภัณฑ์ต่างๆ ก่อนการเกิดเหตุการณ์ที่หนัง โรงพยาบาลในหนังมีการเตรียมอุปกรณ์ทางการแพทย์ แพทย์ พยยาบาลไว้เพื่อรอรับอุบัติเหตุหมู่ที่อาจเกิดขึ้น มีความพร้อมในการรับมืออุบัติเหตุหมู่ที่เกิดขึ้น
:warning:
ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase)
การช่วยหลือเบื้องต้น ระยะนี้จะใช้เวลมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ในหนังภายในโรงพยาบาลมีความรวดเร็วและความพร้อมในการประเมินผู้ป่วยเมื่อมาถึงโรงพยาบาล ทำให้มีการช่วยเหลือได้ทันท่วงที
:warning:
ระยะหลังเกิดภับพิบัติ (post-impact phase)
ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจัดอาชีพเพื่อบรรเทาความเดือนร้อนทางด้านเศรษฐกิจ หลังการเกิดอุบัติเหตุหมู่ที่เกิดขึ้น มีผู้ป่วยได้รับความกระทบกระเทือนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทางคุณหมอมีความพยายามหาทางรักษาเพื่อรักษษร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
หลักการตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่
อุบัติภัยหมู่ (Mass Casualty Incident : MCI)
หมายถึง เหตุการณ์ที่ทำให้มีผู้บากดเจ็บหลายคนในคราวเดียวกัน โดยที่ผู็บาดเจ็บหลายคนนั้นอาจเป็นเพียงอุบัติภัยหมู่ในโรงพยาบาล ซึ่งในหนังเป็นการเกิดภัยพิบัติหมู่มีผู้ป่วยจำนวนมากที่ต้องการรับการรักษา
ภาวะภัยพิบัติ (Disaster)
หมายถึง เหตุการณ์ใดที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม จนกำลังในพื้นที่ไม่สามารถรับมือ หรือจัดการได้ ต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอก (External assistance)
การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Triage หรือการคัดกรองู้ป่วย หมายถึงการซักประวัติและการตรวจอย่างรวดเร็ว เพื่อการคัดแยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มหรือประเภทตามความรุนแรง
แบ่งตามอาการบาดเจ็บของผู้ป่วย
สีแดง
ผู็ป่วยที่ต้องการการรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันที ไม่สามารถรอได้
สีเหลือง
ผู้ป่วยที่ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างถูกต้อง ก็อาจสูยเสียชีวิตหรือพิการได้
สีเขียว
ผู้ป่วยนัด Follow up หรือผู้ป่วยที่เดินได้
สีดำ
เป็นกลุ่มผู้ป่วยที่เสียชชีวิต
ประโยชน์ของการคัดแยกผู้ป่วย
:check: ช่วยลกความเครียด และเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วย และญษติ
:check: ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจ
: :check: ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษษทันและเหมาะสม
:check: ลดค่าใช้จ่าย
การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ
1.Immediate Deaths การตายแบบฉับพลัน
อาจเกิดขึ้นเป็นวินาทีหรือนาที สาเหตุการตายเกิดจากการขาดอาการหายใจ เส้นเลือดขนาดใหญ่ฉีกขาด การตายในช่วงนี้เป็นการตายที่เราสามารถป้องกันได้ แต่ไม่สามารถรักษาได้
2. Early Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง สาเหตุการเสียชีวิตอาจเกิดจากเลือกออกในเยื้อหุ้มสมอง เลือดแแกในช่องเยื้อหุ้มปอด มีลมรั่วในช่องเยื้อหุ้มปอด ตับหรือม้ามแตก เป็นช่วง Golden hour ที่มีความสำคัญอย่างมากในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย
3. Late Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังไได้รับอุบัติเหตุ