Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อที่ 2 ตอนที่ 1 การพยาบาลด้านจิตสังคมในเด็กป่วย, นางสาวณิชนันท์…
หัวข้อที่ 2 ตอนที่ 1
การพยาบาลด้านจิตสังคมในเด็กป่วย
ลักษณะทางจิตสังคมและการรับรู้ความเจ็บป่วยในเด็กแต่ละวัย
วัยทารก
รู้จักเพียงการอยู่กับการหายไป
ร้องกวนเมื่อไม่สบาย
ได้กินอิ่ม ไม่เปียกชื้น ก็นอนได้
ยังไม่รับรู้การเจ็บป่วยของตนเอง
วัยหัดเดิน
มารดาคือคนสำคัญ หากต้องห่างจะกังวลใจมากและความปลอดภัย
การรับรู้เหตุการณ์ยังไม่ดี จึงยังไม่รู้ถึงความเจ็บป่วยของตนเอง
รู้เพียงว่าไม่สุขสบาย หรือเจ็บปวด
ไม่รับรู้เรื่องเวลา
Self-center
วัยก่อนเรียน
รู้ถึงอวัยวะและความสมบูรณ์ของร่างกาย กลัวเสียอวัยวะ
มีจินตนาการแต่แยกไม่ออกกับความจริง
ชอบเล่น
Self-center
คิดเพียงเรื่องปัจจุบัน คาดการณ์ล่วงหน้าไม่ได้
รับรู้ว่าป่วยจากท่าทางคนรอบข้าง แสดงความกังวล
วัยเรียน
รับรู้ความจริงมากขึ้น เพ้อฝันน้อยลง
กลัว : ถูกกคุกคาม สูญเสียการควบคุม ได้รับบาดเจ็บ
ต้องการคำอธิบายเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์
สามารถสื่อสารโดยคำพูด
สนใจถึงความเจ็บป่วย และสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเอง
วัยรุ่น
ตอนต้น
ยังยอมพึ่งพาพ่อแม่
กังวลเกี่ยวกับร่างกาย
ตอนกลาง
อดทนต่อความเจ็บปวด
ขัดแย้งในใจเกี่ยวกับการพึ่งพาตนเอง
ตอนปลาย
ยอมรับการช่วยเหลือจากครอบครัว
ปัญหาหลักคือการเจ็บป่วยที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน
ความหมาย ของจิตสังคม Psychosocial
เมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์ไม่ปกติ เกิดอารมณ์และความรู้ แล้วแสดงออกเป็นพฤติกรรมให้ผู้อื่นได้รับรู้
การสูญเสียการควบคุมตนเอง(Loss of control)
ความหมาย
การเผชิญกับสถานการณ์ที่ทำให้ไม่สามารถควบคุมสิ่งแวดล้อม
รู้สึกสูญเสียอำนาจในตนเอง
วัยทารก
อำนาจการควบคุม
การร้องไห้ การหัวเราะ เพื่อให้มีคนมาเปลี่ยนผ้าอ้อมให้ นม เล่นหยอกล้อ เป็นต้น
เมื่ออยู่โรงพยาบาล
ผลกระทบ mistrust
การร้องไห้ การหัวเราะ อาจไม่มีคนอื่น หรือไม่มีใครมาตอบสนอง
การพยาบาล
รวบรวมข้อมูลเรื่องกิจวัตรเดิมของทารก
ให้การดูแลตามเวลาและวิธีการเดิมของทารก
ให้การดูแลตอบสนองโดยทันที ไม่ต้องรอเวลา
ให้แม่หรือคนเลี้ยงเฝ้าประจำ
วัยหัดเดิน
อำนาจการควบคุม
มีอิสระ เก่งมากขึ้น เดินได้ พูดคุยกับคนอื่นได้ ช่วยตนเองได้
ชอบทำกิจวัตรตามเวลา ในที่ๆคุ้นเคย
ถ้าคับข้องใจมาก อาจมีพฤติกรรมถดถอย
การพยาบาล
สนับสนุนให้มีกิจวัตรตามเดิม
ส่งเสริมพัฒนาการทุกๆด้าน เท่าที่จะทำได้
ดูเเลพฤติกรรมการถดถอย
หลีกเลี่ยงการผูกหมัด
วัยก่อนเรียน
อำนาจการควบคุม
สติปัญญาดีขึ้น คิดได้มากขึ้น แต่มักคิดผิด
เริ่มมีจินตนาการ ฝันเฟื่อง กลัวเกินความจริง
ถ้าคับข้องใจมาก อาจมีพฤติกรรมถดถอย
การพยาบาล
ระวังการแปลความที่ผิดเกินจริง เรื่องการผูกยึด
บอกเหตุผลในการทำกิจกรรมให้เด็กและประเมินความเข้าใจเสมอ
ดูแลพฤติกรรมถดถอย
วัยเรียน
อำนาจการควบคุม
เริ่มมีจินตนาการฝันเฟื่อง กลัวเกินความจริง
เป็นวัยขยันขันแข็ง ชอบทำประโยชน์
การพยาบาล
ให้ช่วยทำงาน ช่วยดูแลตน
บอก อธิบายเกี่ยวกับโรคง่ายๆ ไม่ซับซ้อน
จัดให้เล่น เพื่อให้ได้ผลงานหรือเพื่อให้รู้สึกชนะ
วัยรุ่น
อำนาจการควบคุม
วัยแสวงหาอิสระและตัวตน
ไม่อยากพึ่งพาโดยเฉพาะพ่อแม่
ไม่อยากให้เพื่อนเห็นความอ่อนแอ
การพยาบาล
ให้อิสระในการดูแลตนเอง
เมื่อแสดงความเข้มแข็งให้ชมเชย
การวิตกกังวลต่อการแยกจาก(Separation anxiety)
การป้องกันผลกระทบ
ให้ครอบครัวเยี่ยมหรืออยู่ด้วย
พ่อแม่จะไปไหนต้องบอก อย่าหลอกเด็ก
เอาของชอบ หรือสิ่งแทนตัวไว้ให้เมื่อจากเด็ก
ระยะประท้วง
ร้องไห้เสียงดัง
หยุดเมื่อเหนื่อยหรืออ่อนเพลียจนหลับ
ปฏิเสธการดูแลหรือความสนใจของผู้อื่น
ระยะหมดหวัง
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ซึมเศร้า เพราะหมดหวังที่ประท้วงแล้วไม่ได้ผล
ความไว้วางใจพ่อแม่ลดลง
ระยะปฏิเสธ
เป็นช่วงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อพ่อแม่
ดูเหมือนสนใจสิ่งรอบตัว ท่าทางไม่เดือดร้อนที่พ่อแม่จะมา
มีท่าทีสนิทกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
นางสาวณิชนันท์ รักษาชลธาร นักศึกษาชั้นปีที่3 รหัส 6110514140 Sec. B