Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
การพยาบาลเด็กระบบติดเชื้อ
1 โรคหัด (Measles/Rubeola)
สาเหตุ: เชื้อไวรัส (Parayxovirus)
ระยะฟักตัว: ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้ หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งปรากฏผื่น
ระยะติดต่อ: ประมาณ 8-12 วัน
การระบาดของโรค: ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการและอาการแสดง
อาการนา: ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้้ามูกน้้าตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดง
ระยะออกผื่น: ประมาณ 3-5 วัน หลังจากเป็นไข้(T=39.5-40.5 ºC) ตาแดงจัด ผื่น เริ่มจากหลังใบหูและโคนผมที่ต้นคอ ใบหน้า ล้าตัว แขน ขา ต่อมน้้าเหลือง ม้ามโต
ระยะผื่นจางหาย: ประมาณ 5-8 วันของโรค ไข้เริ่มลดลง
และหายไปภายใน 2-3 วันอาจมีอาการไอ
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ, ปอดอักเสบ, หูชั้นกลางอักเสบ, เยื่อบุตาอักเสบ, ล้าไส้อักเสบ, กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
การรักษา
เป็นโรคที่หายได้เอง ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่มีความจ้าเป็นให้ยาต้านจุลชีพ
ให้พักผ่อน ยาลดไข้ และให้น้้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้้า ต้องให้ยาจุลชีพที่เหมาะสม
การป้องกัน:
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที โดยให้ Gamma globulin
วัคซีนที่ท้าจากเชื้อมีชีวิตฉีดเข้าใต้ผิวหนังครั้งเดียว
2 โรคหัดเยอรมัน
(Rubella)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส (Rubi-virus)
อาการและอาการแสดง
ไข้ออกผื่น ไม่รุนแรงในเด็ก แต่ส้าคัญ สตรีตั้งครรภ์เป็นโรคหัดเยอรมันในระยะเริ่มตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เชื้อไวรัสผ่านไปทารกในครรภ์ ท้าให้เกิดความพิการทางหู ตา หัวใจ สมอง
การรักษา
การให้วัคซีนกับทุกคนในประเทศจึงเป็นการลดการระบาดของโรคหัดเยอรมัน และป้องกันการติดเชื้อของหญิงมีครรภ์
ระยะฟักตัว
ประมาณ 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน
ระยะติดต่อ
ประมาณ 2-3 วัน ก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น ทารกที่ติดเชื้อในครรภ์
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ, คอแดงเล็กน้อย, มีผื่นอย่างน้อย 1-2 วัน
มีไข้ต่้าๆ (37.5 ºC); ปวดศีรษะ, อ่อนเพลีย, มีน้้ามูก,เจ็บคอ, คอแดง, เยื่อบุตาอักเสบ
ถ้ามีไข้สูง (39 ºC); วิงเวียน เบื่ออาหาร หนาวสั่น น้้ามูกไหล คอแดง เจ็บคอ เยื่อบุตาแดงอักเสบ ปวดศีรษะ หลังจากนั้น 4-5 วันอาจจะมีอาการทางระบบประสาทร่วมด้วย เช่น ตะคริว ปวดศีรษะ อ่อนแรงอัมพฤกษ์
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจากน้้ามูก swab จากคอ เลือด ปัสสาวะ และน้้าไขสันหลัง
แยกผู้ป่วยครบ 7 วันหลังผื่นขึ้น ใน Congenital rubella อาจมีเชื้อได้นานถึง 1 ปี
ติดตามตรวจเชื้อไวรัสใน Nasophalynx และในปัสสาวะเมื่ออายุ 3-6 เดือน แล้วไม่พบเชื้อ
ให้วัคซีนป้องกัน
การพยาบาล
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7 วันหลังผื่นขึ้น
เช็ดตัวลดไข้
ดูแลทั่วไปๆ ผิวหนัง ตา หู ปากฟัน และจมูก
ระยะไข้สูง ให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้้ามากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ
3 โรคสุกใส (Chickenpox / Vericella)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
ขึ้น บริเวณหนังศีรษะ ใบหน้า คอ และเยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขนขา
กระจายแบบ Centripetal
ผื่นมักจะอยู่บริเวณล้าตัว ใบหน้า มากกว่าแขนขา
ระยะฟักตัว
ประมาณ 10-21 วัน
อาการ
มีไข้ต่้าๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1-2 วัน ปวดท้องเล็กน้อย
ลักษณะผื่น
เริ่มจากจุดแดงราบแล้วเปลี่ยนเป็นตุ่มนูนอย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชั่วโมง และตุ่มน้้าใสต่อมาเป็นตุ่มหนองแห้งตกสะเก็ด
สรุป
Macule papule vesicle pustule crust
โรคแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
เกล็ดเลือดต่้า เลือดออกทางเดินอาหาร
เลือดก้าเดาไหล
สุกใสชนิดแพร่กระจายไปอวัยวะภายใน มีตุ่มขึ้นใหม่เป็นระยะเวลานาน มักพบในผู้ป่วยโรคมะเร็ง เช่น ปอดอักเสบ
Raye’s syndrome เป็นกลุ่มอาการที่มีผลกระทบต่อทุกอวัยวะในร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมองและตับของผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพมากที่สุด
การวินิจฉัย
ขูดพื้นขอตุ่มใสมาสเมียร์บนสไลด์
การป้องกัน
ระยะแพร่เชื้อ เริ่มตั้งแต่ 24 ชม.ก่อนที่ผื่นขึ้นจนถึงตุ่มแห้งหมดแล้ว
การรักษา
ยาต้านไวรัส คือ Acyclovir (Zovirax) ทั้งชนิดกินและทา ชนิดฉีดให้ 200 mg 5 dose/day ทุก 4 ชั่วโมง เป็นเวลา 5 วัน
การพยาบาล
แยกเด็กไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมด
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือให้เด็กเล็ก
อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส ถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน 3 วัน ป้องกันโรคได้มากกว่า 90%
4 โรคคอตีบ (Diphtheria)
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดการอักเสบ มีแผ่นเยื่อในล้าคอ มีการตีบตันของทางเดินหายใจ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
อาการและอาการแสดง:
ไข้ต่้าๆอาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้้าเหลืองที่คอโตและบริเวณรอบๆรุนแรง คอบวม “Bullneck”
คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดอยู่บริเวณทอนซิล
โรคแทรกซ้อน
การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบน พบในเด็กเล็กวันที่ 2-3 ของโรค กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
การวินิจฉัย
ตรวจแผ่นเยื่อในล้าคอ โดยใช้ Throat swab
การรักษา
การให้ Diptheria Antitoxin (DAT) ต้องรีบให้เร็วที่สุด
ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลิน เป็นเวลา 14 วัน หรือ Erythromycin แทน
ถ้าทางเดินหายใจตีบ ต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
ต้องมีการพักผ่อนอย่างเต็มที่ อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์ ให้สารน้้าทางหลอดเลือด
การป้องกัน
ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย เนื่องจากโรคคอตีบติดต่อกันได้ง่าย จึงควรติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด โดยการเพาะเชื้อจากล้าคอและติดตามอาการ 7 วัน
ในเด็กทั่วไป โดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6,18 เดือนและกระตุ้นอีกครั้งหนึ่งเมื่ออายุ 4-6 ปี
5 โรคคางทูม (Mumps)
เป็นการอักเสบของต่อมน้้าลาย
พบมากในเด็กอายุ 6-10 ปี (< 3 ปีมักไม่พบ)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส Paramyxovirus (อยู่ในน้้าลายหรือเสมหะ)
การติดต่อ
ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9 วัน หลังจากต่อมน้้าลาย paratid เริ่มบวม
ระยะฟักตัว
12-25 วัน
อาการ
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดงปวด ร้าวไปที่หูขณะกลืน เคี้ยว และอ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10 วัน
โรคแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ *พบน้อย
หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ส่วนน้อยพบ Orchitis (ลูกอัณฑะอักเสบ: ไข้สูง อัณฑะบวม ปวด อาจเป็นหมันได้)
การวินิจฉัย
แยกเชื้อไวรัสจาก Throat washing จากปัสสาวะและน้้าไขสันหลัง
การรักษา
รักษาตามอาการ: ให้นอนพัก ดื่มน้้ามากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ลูกอัณฑะอักเสบ: ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
การแยกผู้ป่วย
แยกผู้ป่วย 9 วัน หลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้้าลาย
การป้องกัน
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
6 วัณโรค (Tuberculosis)
เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ท้าให้มีการอักเสบในปอด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
การติดต่อ
ไอ หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว
2-10 สัปดาห์
อาการ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
TT (PPD test) : positive (2-10 สัปดาห์)
1-6 เดือนต่อมา ต่อมน้้าเหลืองโต ปอด อวัยวะอื่นๆ
มาด้วยการเจ็บป่วยตามอวัยวะที่เป็นโรค ไข้ อ่อนเพลีย น้้าหนักลด เบื่ออาหาร เหงื่อออกกลางคืน ปอดอักเสบ
การวินิจฉัย
ประวัติสัมผัสโรค
ภาพถ่ายรังสีปอด
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ได้ผลบวก
การย้อมสีทนกรด
การวิจฉัยชิ้นเนื้อจากต่อมน้้าเหลือง เยื่อหุ้มปอด
การตรวจ CT scan, MRI
การท้า TT (PPD test) ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อวัณโรคแต่ไม่มีอาการ
การรักษา
Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง (pyrazinamide, streptomycin, rifampin, isoniacid, ethabutal) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT ผลบวก ให้ INH นาน 2-4 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัคซีน BCG
7 โรคไข้เลือดออกเดงกี่ Dengue hemorrhagic fever
การดาเนินโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะไข้สูง (Febrile stage)
ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T>38.5 ºC (2-7 วัน)
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้้ามูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโต หรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
ระยะวิกฤตหรือช็อก (Critical stage)
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมง
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้องมาก เกิดภาวะช็อก
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น pulse pressure แคบ<20 mmHg (ปกติ 30-40 mmHg)
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายน้้า อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี
Grade I: ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก
Grade II: มีเลือดออก เช่น จุดจ้้าเลือดออกตามตัว, มีเลือดก้าเดา, อาเจียน ถ่ายอุจจาระสีด้า, Hct เพิ่มมากกว่าร้อยละ 20, BP ยังปกติ
Grade III: ผู้ป่วยช็อก, มีชีพจรเบาเร็ว, pulse pressure แคบ, BP ต่้า, ตัวเย็น, เหงื่อออก, กระสับกระส่าย
Grade IV: ช็อกรุนแรง, วัด BP หรือ Pulse ไม่ได้
ระยะฟื้นตัว (Convalescent stage)
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
ผู้ป่วยช็อก รักษาถูกต้อง เมื่อการรั่วของพลาสมามาหยุด Hct.ลงมาคงที่ ชีพจรช้าลงและแรงขึ้น BPปกติ
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า
อาจมีผื่นลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผื่นสีแดง
การวินิจฉัย
oการเจาะเลือด: Hct / WBC สูง
การตรวจ occult blood
ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก (Positive tourniquet test)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตับอักเสบ เอนไซม์ตับเพิ่มมากขึ้น
การเจาะหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้เลือดออก
อาการ:
มีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน
มีเกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000
มีอาการเลือดออก อย่างน้อย Positive tourniquet test ร่วมกับอาการเลือดออกอื่นๆ
Hct.เพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า 20% เทียบกับ Hct.เดิม หรือมีหลักฐานการรั่วของพลาสมา
การรักษา
ระยะไข้สูงให้ยาลดไข้
oระยะช็อก มุ่งแก้อาการช็อกและอาการเลือดออก ให้สารน้้า ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้้ากลับเข้าสู่หลอดเลือด
การพยาบาล
การเช็ดตัวลดไข้
oการให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
การท้าความสะอาดร่างกาย
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
oการดูผลเกร็ดเลือด ถ้า Hct สูง เกร็ดเลือดต่่า
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า สังเกตภาวะหอบ หายใจล้าบาก การสังเกตปัสสาวะ
รขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ห้ามสวน
วัดการบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ให้นอนศีรษะสูง
8 เอดส์ในเด็ก HIV / AIDS
โรคเอดส์ คือ โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป เพราะถูกท้าลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส HIV
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
อาการ
เอดส์ในเด็กมีอาการของ Major sign อย่างน้อย 2 ข้อ และ Minor sign อย่างน้อย 2 ข้อ
Major sign
น้้าหนักลด
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีไข้เรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
Minor sign
ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
ปากเป็นแผล
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
ไอเรื้อรัง
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
แม่เป็นเอดส์
อาการ
Stage I: ไม่มีอาการ ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
Stage II: ม้ามโต ผื่นคัน เนื้องอกตามผิวหนัง ติดเชื้อราที่เล็บ เหงือกบวม ปากเป็นแผล ต่อมน้้าลายพาโรติดโต มีอาการของงูสวัด
Stage III: อุจจาระร่วงเรื้อรังนานกว่า 14 วัน ขาดอาหาร มีไข้เรื้อรัง> 1 เดือน มีฝ้าขาวในปาก ลิ้นและเหงือก ปอดอักเสบ วัณโรคปอด
Stage IV: ขาดอาหารรุนแรง ติดเชื้อรุนแรงและกลับซ้้า มะเร็งผิวหนัง ติดเชื้อราในทางเดินอาหาร เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
HIV antibody test ตรวจพบเชื้อ HIV หลังติดเชื้อ 2 สัปดาห์ – 6 เดือน
Viral Culture
การป้องกัน รักษา
ให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม.
เลือกท้าการผ่าตัดอกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้้าเดิน
oงดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอโรคมือเท้าปาก
การส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ