Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่…
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
2.การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Triage
อ่านว่า ทรีอาดย์
ในทางการแพทย์ triage หรือการคัดกรองผู้ป่วย หมายถึงการซักประวตัิและการตรวจอย่างรวดเร็ว เพื่อการคดัแยกผปู้่วยออกเป็นกลุ่มหรือประเภทตามลำดับความรุนแรง (ร้ายแรง) ของการเจ็บป่วยนั้นหมายถึงการค้นหา
ประโยชน์
ของการคัดกรองผู้ป่วย
ช่วยลดความเครียด และเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติในการเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาพยาบาล
ช่วยลดความล่าช้า้ในการตรวจ
ทำให้ผู้ป่วยดได้รับการรักษาทัน
และเหมาะสม
การลดค่าใช้จ่าย
การเสียชีวิตแบ่งออกเป็น 3 ช่วง
Immediate Deaths (การตายแบบฉับพลัน)
อาจเกิดข้ึนในเวลาเป็นวนิาทีถึงนาที
สาเหตุการตายเกิดจากการขาดอากาศหายใจเส้นเลือดขนาดใหญ่ฉีกขาดทำใหเ้กิดการเสียเลือดอย่างมากหรือหัวใจได้รับการกระทบอย่างรุนแรง
การตายในช่วงนี้เป็นการตายที่เราสามารถป้องกันได้ แต่ไม่สามารถรักษาได้
Early Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง
สาเหตุการเสียชีวติอาจเกิดจากเลือกออกในเยื่อหุ้มสมอง เลือดออกในเยื่อหุ้มปอด มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด ตับหรือม้ามแตก หรือมีการเสียเลือดอย่างมาก
ในช่วงนี้เป็นช่วง Golden hour ที่มีความสำคัญอย่างมากในการดูแลช่วยเหลือผปู้่วย ถ้ามีระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่ดีจะสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ทำให้มีโอกาสรอดมากยิ่งขึ้น
Late Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
สาเหตุการเสียชีวติเกิดจากการติดเช้ือในกระแสเลือด หรืออวยัวะภายในร่างกายล้มเหลว
อัตราการตายของผู้ปู่วยกลุ่มนี้ก็ขึ้นอยู่ักบการดูแลรักษาผู้ป่วยในช่วงแรก
การคัดกรองจุดเกิดเหตุ
การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก
START (Simple Triage and Rapid Treatment)
สรุปหลักการคัดแยกโดยการใช้ START จะให้หลักการ RPM: Respiratory, PerfusionMental status หรือ (30:2: can do) โดยใช้อัตราการหายใจ 30 ครั้ง/นาที การไหลเวียนโลหิตใช้ capillaryrefill มากกว่าหรือน้อยกว่า 2 วินาที ระดับความรู้สึกตัวใช้การประเมินว่าท าตามค าสั่งได้หรือไม่ผู้ป่วยที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มสีแดง (immediate) เป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนโดยต้อจัดล าดับความส าคัญในการรักษาเป็นกลุ่มแรก การให้การรักษาที่รวดเร็วและถูกต้องจะเพิ่มโอกาสรอดชีวิตให้กับผู้ป่วยผู้ป่วยที่จัดอยู่ในกลุ่มสีเหลือง (delayed) เป็นกลุ่มผู้ป่วยถัดไปที่ต้องกการรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่จัดอยู่ในกลุ่มสีเขียว (minor) เป็นกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มถัดไปที่ได้รับการรักษาถัดจากสีเหลืองผู้ป่วยที่จัดอยู่ในกลุ่มกลุ่มสีด า (deceased) เป็นกลุ่มที่ไม่ต้องท าการช่วยเหลือเนื่องจากโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
JumpSTART ถูกดัดแปลงมาจาก START ซึ่งใช้ในเด็กอายุ 1-8 ปี โดยมีข้อแตกต่างจากSTART บางประการ ได้แก่
กรณีผู้ป่วยเด็กที่ไม่หายใจหลังจากเปิดทางเดินหายใจแล้ว ให้คล าชีพจรก่อน ถ้าไม่มีชีพจรให้เป็นสีด า ถ้ามีชีพจรให้ช่วยหายใจ 5 ครั้ง ถ้าผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เองให้เป็นสีแดง แต่หลังจากช่วยหายใจถ้าผู้ป่วยไม่หายใจด้วยต้นเองให้เป็นสีดำ
การประเมินการหายใจใช้น้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 45 ครั้ง/นาที จึงจัดเป็นกลุ่มสีแดง
การประเมินการรู้สึกตัวในเด็กใช้เป็น
P = Pain ตอบสนองต่อความเจ็บป่วยอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
A = Alert = สีเหลือง
V = Verbal ตอบสนองต่อเสียงเรียกอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
U = Unresponsive ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น = สีแดง
การคัดแยกตามหลักของ Major Incident Medical Management and Support (MIMMS)
ผู้ป่วยที่สามารถเดินได้ ให้ผู้ป่วยเดินออกจากที่เกิดเหตุ และจัดผู้ป่วยกลุ่มนี้ T3,minimal, สีเขียว เป็นผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง สามารถรอได้นาน 24 ชั่วโมง
หลังจากนั้นทีมกู้ชีพจะเข้าไปประเมินผู้ป่วยที่ไม่สามารถเดินได้ โดยการประเมินทางเดินหายใจ (air way)
ผู้ป่วยที่ไม่หายใจ ให้เปิดทางเดินหายใจ โดยการท า head tilt/ chin lift หรือ jawthrust ถ้าเปิดทางเดินหายใจแล้วผู้ป่วยไม่หายใจ ให้จัดอยู่ในกลุ่ม T4, Expectant, สีน้้ำเงิน/สีดำ ซึ่งเป็นผู้ป่วยกลุ่มที่มีโอกาสเสียชีวิตสูง
ถ้าเปิดทางเดินหายใจแล้ว ผู้ป่วยหายใจได้ ให้จัดผู้ป่วยอยู่ในกลุ่ม T1,Immediate, สีแดง ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาเพื่อช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วนโดยทันที
ผู้ป่วยที่สามารถหายใจได้ ให้ประเมินอัตราการหายใจ (Breathing) โดยถ้าหายใจน้อยกว่า10 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 30 ครั้ง/นาที ให้จัดผู้ป่วยอยู่ใน T1, Immediate, สีแดง ซึ่งต้องการดูแลรักษาเพื่อช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วนทันที
ถ้าผู้ป่วยหายใจ 10-29 ครั้ง/นาที ให้ประเมินการไหลเวียน (Circulation) โดยการตรวจCapillary refill โดยการกดบริเวณเล็บของผู้ป่วยนาน 5 วินาทีแล้วปล่อย และตรวจชีพจร ถ้า Capillaryrefill มากกว่า 2 วินาที หรือชีพจรมากกว่า 120 ครั้ง/นาที ให้จัดอยู่ในกลุ่ม T1, Immediate, สีแดง ซึ่งต้องการดูแลรักษา เพื่อช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วนโดยทันที, ถ้า Capillary refill น้อยกว่า 2 วินาที หรือชีพจรน้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที ให้จัดอยู่ในกลุ่ม T2, Delay, สีเหลือง หมายถึงผู้ที่ต้องการการดูแลรักษาภายใน 24ชั่วโมง มิฉะนั้นจะเป็นอันตรายถึงชีวิต
การประเมินTriage revised trauma score (TRTS)
คะแนน 1-10: จัดเป็น T1 (สีแดง) ต้องน าผู้ป่วยไปยังจุดรักษาพยาบาลที่เป็นโซนสีแดง
(ประกอบด้วย แพทย์พยาบาลและอุปกรณ์กู้ชีพขั้นสูง)
คะแนน 11 : จัดเป็น T2 (สีเหลือง) ต้องน าผู้ป่วยไปยังจุดรักษาพยาบาลที่เป็นโซนสีเหลือง
(ประกอบด้วยพยาบาล, เจ้าหน้าที่กู้ชีพและอุปกรณ์พื้นฐานในการรักษาพยาบาล)
คะแนน 12 : จัดเป็น T3 (สีเขียว) ต้องน าผู้ป่วยไปยังจุดรักษาพยาบาลที่เป็นโซนสีเขียว(ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่กู้ชีพ และอุปกรณ์พื้นฐานในการปฐมพยาบาล)
การคัดแยกผู้บาดเจ็บที่มีจำนวนไม่มาก
แบ่งตามอาการบาดเจ็บของผู้ป่วย
สีแดง ประเภทสีแดง หมายถึง ผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันทีไม่สามารถรอได้การ
เสียเวลาที่จุดเกิดเหตุจะทำให้ช่วงเวลาที่สำคัญ (Golden hour) ในการรักษาภาวะนั้นๆไป
สีเหลือง ประเภทสีเหลือง หมายถึง ผู้ป่วยประเภทนี้ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ให้การดูแลรักษาพยาบาลอย่างถูกต้อง ก็อาจทำให้สูญเสีย
ชีวิตหรือพิการได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ผู้ป่วยประเภทนี้จะมีอาการหรืออาการแสดงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
สีเขียว ประเภทสีเขียว หมายถึง ผู้ป่วยนัด Follow Up หรือผู้ป่วยเดินได้สามารถรอการรักษาได้
สีดำ ประเภทสีดำ หมายถึง เป็นกลุ่มที่ผู้ป่วยเสียชีวิต หรือมีโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการดูแลผู้ป่วย
การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Detection)
การรายงานเหตุการณ์ (Reporting)
การดำเนินการตอบสนอง (Response)
การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care)
4.1ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up)
ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยรอบ เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติการเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู้ร่วมงานผู้ป่วย และบุคคลอื่นๆ
4.2การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
Airway and C-spineทางเดินหายใจและกระดูกต้นคอ
Breathing การหายใจ
การไหลเวียน (Circulation)
ระดับความรู้สึกตัว(Disability)
บาดแผลตามร่างกาย และกระดูกขา (Exposure and Disability)
การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on Transit)
การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม (Transfer to Definitive care)
Level IV ดูแลกู้ชีพได้เบื้องต้นเท่านั้น และท าการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลระดับสูงต่อไป Level III มีแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินและแพทย์เฉพาะทางอุบัติเหตุสามารถท าการเอกซเรย์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีอุปกรณ์ในการมอนิเตอร์ต่างๆ มีระบบปรึกษาศัลยแพทย์ และแพทย์เฉพาะทาง และมีระบบทะเบียนผู้บาดเจ็บ (Trauma registry) Level II มีคุณสมบัติเหมือนในระดับ 3 โดยมีเพิ่มเติมคือ มีแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน ผ่าตัดฉุกเฉินได้ตลอด 24 ชม. Level I มีคุณสมบัติเหมือนในระดับ 2 มีระบบในการจัดการการเกิดอุบัติเหตุ การป้องกันอุบัติเหตุและการให้ความรู้ประชาชนทั่วไปรวมถึงมีการรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานเป็นงานวิจัย
การดูแลผู้บาดเจ็บที่มีภาวะช็อคและการห้ามเลือดนอกโรงพยาบาล
ดูแลทางเดินหายใจส่วนบน (Airway)การหายใจ (Breathing) ให้เป็นปกติแล้วให้ออกซิเจนประคับประคองระบบทางเดินหายใจ
ประเมินหาตำแหน่งที่เสียเลือดจากบาดแผลภายนอกและท าการห้ามเลือดรวมทั้งพยายามมองหาสาเหตุของการเสียเลือดภายในร่างกายให้ได้
นำส่งผู้บาดเจ็บไปยังศูนย์อุบัติเหตุที่มีความเหมาะสม
การให้สารน้ำอย่างเหมาะสม
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มีการแพ้ชนิดรุนแรง
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ open pneumothorax
การรักษาภาวะ open pneumothorax เบื้องต้นทำได้โดยการปิดแผลด้วยแผ่นพลาสติปลอดเชื้อแล้วปิดขอบ 3 ด้าน (Three side Dress) ซึ่งท าให้อากาศจากภายนอกไม่สามารถเข้าสู่ช่องอกได้ในช่วงหายใจเข้า แต่อากาศในช่องปอดสามารถออกสู่ภายนอกได้ในช่วงหายใจออก
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
การช่วยหายใจ (“B” Rescue breathing)
ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ (Verify scene safety)
ประเมินผู้ป่วย
เรียกขอความช่วยเหลือจาก EMS ทันที
ประเมินการหายใจและชีพจร (Check for breathing and check pulse)
การกดหน้าอก (C: Chest compressions)
การช็อกไฟฟ้าหัวใจโดยใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจแบบอัตโนมัติ (AED defibrillation)
การเปิดทางเดินหายใจ (“A”managing the Airway)
สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นในทางเดินหายใจ
(Foreign body airway obstruction (choking))
การรัดกระตุกหน้าท้อง abdominal thrusts (Heimlich maneuver) ในผู้ใหญ่และเด็กโต
ตบหลัง (back blows)5 ครั ้งและกดหน้าอก (chest thrusts)5 ครั ้งในเด็กเล็ก อายุน้อยกว่า 1 ปี
ทำการ การรัดกระตุกบริเวณหน้าอกของผู้ป่ วยแทน (chest thrusts) ในคนตั ้งครรภ์ หรืออ้วนมาก
ทำการกดหน้าอกนวดหัวใจหรือ CPR ทันทีกรณีผู้ป่ วยหมดสติ
การบรรเทาสาธารณภัย
ประเภทของภัยพิบัติ (type of disaster)
การแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ
1.1 ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (natural disaster)
1.2 ภัยพิบัติที่เกิดจากการกระท าของมนุษย์
1.3 ภัยจากเทคโนโลยีต่างๆ
การแบ่งตามสถานการณ์
2.1 ภัยพิบัติในภาวะปกติ
2.2 ภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน
2.3 ภัยพิบัติในภาวะสงคราม
วงจรการเกิดภัยพิบัติ (disaster cycle)
2.1 ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ(pre-impact phase)
2.2 ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase)
2.3 ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ (post-impact phase)
อุบัติภัยหมู่(Mass Casualty Incident, MCI)
เหตุการณ์ที่ทำให้มีผู้บาดเจ็ดหลายคนในคราวเดียวกันโดยที่ผู้บาดเจ็บหลายคนนั้นอาจจะเป็นเพียงอุบัติภัยหมู่โรงพยาบาลใหญ่ เนื่องจากมีอุปกรณ์และศักยภาพในการจัดการได้ไม่ยาก แต่ขณะเดียวกันอาจจะเป็นภัยพิบัติ (Disaster) ของโรงพยาบาลเล็กก็ได้
กรณีเคสที่มาร์โคขาหักและไม่สามารถต่อกระดูกได้หมอจึงสอบถามว่าจะตัดขาหรือจะเก็บขาไว้โดยญาติของมาร์โคก็ได้โต้เถียงกันซึ่งว่าที่ภรรยาของมาร์โคได้บอกว่าจะให้เก็บขาของมาร์โคได้ แต่ทางด้านฝ่ายพ่อกับแม่ของมาร์โคได้ลงความเห็นว่าให้ตัดขาของมาร์โคออกเพื่อรักษาชีวิตของมาร์โคไว้ เพราะว่าถ้าหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีมาร์โคก็อาจจะเสียชีวิตได้ สรุปมาร์โคตัดขาออกเพื่อรักษาชีวิตของเขาเอาไว้
จากการวิเคราะห์หนังทำให้เห็นถึงการคัดกรองผู้บาดเจ็บจากที่เกิดเหตุโดยการแบ่งแยกเป็นสีตามอาการบาดเจ็บของผู้บาดเจ็บที่ได้รับจากการประสบอุบัติเหตุ การจัดลำดับผู้บาดเจ็บจามอาการตั้งแต่ระดับรุนแรง ปานกลาง ไปจนถึงเล็กน้อย การลำเลียงผู้บาดเจ็บ การพยาบาลผู้บาดเจ็บตั้งแต่จุดเกิดเหตุ ระหว่างการนำส่ง และจนกระทั่งถึงโรงพยาบาล
6.หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาสธารณภัย
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ(pre-impact phase)
การเตรียมแผน เพื่อรองรับสถานการณ์ทั้งด้าน
บุคลากรสถานที่ ยาและเวชภัณฑ์ต่างๆ
ระยะเกิดภัยพิบัติ(impact phase)
ช่วยเหลือเบื้องต้น ระยะนี้อาจจะใช้เวลามากน้อยเท่าไรขึ้นอยู่กับขนาดของภัยพิบัติที่เกิดขึ้น
ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ (post-impact phase)
ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัยทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจัดอาชีพเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนทางด้านเศรษฐกิจด้วย
การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสำคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีอาการมากหรือหนักกว่าเดิม
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
บทบาทหน้าที่ของ
พยาบาลชุมชนจะต้องเกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ด้านการป้องกัน
ด้านการรักษาพยาบาล
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต