Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะที่ 2 ของการคลอด (Second stage of labor) - Coggle Diagram
ระยะที่ 2 ของการคลอด (Second stage of labor)
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
นสตรีตั้งครรภ์จะถูกย้ายไปเข้าห้องคลอด (ในกรณีที่ห้องรอคลอดเป็นคนละที่กับห้องคลอด)
อยู่ในท่า Lithotomy (ในบางโรงพยาบาลอาจท าคลอดในท่านอนหงายปกติก่อนได้ แล้วจึงเปลี่ยนเป็นท่า Lithotomy
ขั้นตอนในการทำคลอดทารก ดังนี้
5.ตรวจภายในเพื่อประเมิน position และ station ของส่วนนำและให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อมีการหดรัดตัวของ กล้ามเนื้อมดลูก
4.สวนปัสสาวะ เพื่อให้แน่ใจกว่าไม่มี full bladder
2.ทำความสะอาดบริเวณ perineum อย่างเป็นระบบด้วย Povidine solution
6.เมื่อศีรษะทารกเริ่มเคลื่อนต่ าลงมาและคิดว่าจะคลอดในไม่ช้า ให้ฉีดยาชาระงับความรู้สึก บริเวณที่คิดว่าจะตัดฝีเย็บ
10.ท าการคลอดไหล่ โดยหมุนศีรษะทารกให้อยู่ในแนว occiput transverse
11.เมื่อทารกคลอดครบทั้งตัวแล้ว ให้ดูดเมือกในจมูกและปากทารกอีกครั้ง
9.เมื่อส่วนศีรษะทารกคลอดออกมาพ้นปากช่องคลอดทั้งหมด จะพบว่ามี External rotation หรือ Reinstitution เกิดขึ้น จากนั้นให้ท าการดูดเมือกในจมูกและปากทารกออกจนค่อนข้างเคลียร์
12.การดูแลทารกในเบื้องต้น ควรมีการเช็ดตัวทารกให้แห้งและเปลี่ยนผ้าผืนใหม่ เพื่อป้องกันการเกิดอุณหภูมิ กายของทารกต่ำ
1.เตรียมอุปกรณ์ส่วนผู้ทำคลอดล้างมือและอยู่ในชุดปราศจากเชื้อพร้อมทำคลอด
8.เมื่อตัดฝีเย็บแล้ว และศีรษะทารกส่วน subocciput มายันใต้ต่อ pubic symphysis แสดงว่าทารกพร้อมจะ เกิดการเงยศีรษะ หรือ extension ให้ทำการ save perineum เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ศีรษะทารกเงยขึ้นเร็ว เกินไป
3.ปูผ้าปราศจากเชื้อ
7.เมื่อเห็นส่วนศีรษะโผล่มาที่ปากช่องคลอด เส้นผ่านศูนย์กลางมีขนาดประมาณ ไข่ไก่ ให้ทำการตัดฝีเย็บ
13.ในระหว่างการดูแลทารกในเบื้องต้น ควรมีการสังเกตอาการของมารดาเป็นระยะ ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้น หรือไม่ โดยเฉพาะเลือดที่ออกจากช่องคลอดว่ามีปริมาณมากผิดปกติหรือไม่
เป็นช่วงที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว (Fully dilatation) และทารกพร้อมที่จะคลอด
อาการแสดงว่าเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งอยากถ่ายอุจจาระและปสัสาวะขณะที่มดลูกหดรัดตัว
ถุงน้ าทูนหัวแตก
ฝีเย็บตุงมองเห็นสว่นน าของทารกทางช่องคลอด
ปากมดลูกเปิดหมด 10 เซนติเมตร (fully dilatation)
มีเลือดสตออกทางช่องคลอดเล็กน้อย
การเคลื่อนต่ำของทารกตรวจหาระดับส่วนนำด้วยวิธี Leopold 's hand grip
ปากมดลูกเปิดหมด 10 เซนติเมตร
เสียงหัวใจของทารกฟังได้ชัดเจนและ เคลื่อนต่ าลงเรื่อยๆค่อนมาทางกึ่งกลางล าตัวของผู้คลอด
ตรวจทางช่องคลอดพบระดับส่วนน้าเคลื่อนต่ าลงมา เรื่อยๆจากระดับ 0 เป็น + 1 12 13
การเตรียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
ด้านร่ากาย
พยาบาลประเมินการ หดรัดตัวของมดลูก
จัดท่าเบ่งคลอดการจัดให้ผู้คลอดอยู่ในท่าศีรษะสูง
แนะนำวิธีการเบ่งให้ผู้คลอดโดยควรเบ่งขณะที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
การเบ่งในท่านั่งยองๆ จะช่วยเพิ่มการเคลื่อนต่ำของทารกในครรภ์และเพิ่มความกว้างของกระดูกเชิงกราน
จัดท่าให้เบ่งโดยการพาดขาหยั่ง (Lithotomy)
ด้านจิตใจ
ดูแลให้ผู้คลอดรู้สึกสุขสบายขณะเบ่งผู้คลอด
ควรใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดขณะพักเพื่อให้ผู้คลอดรู้สึกสบายตัวขึ้น
การอนุญาตให้สามีหรือญาติเข้ามาเยี่ยมหรือให้การช่วยเหลือที่ไม่ขัดต่อการรักษาพยาบาล
่สตรีตั้งครรภ์มีการเปิดขยายของปากมดลูก 10 เซนติเมตร จนถึงระยะที่ทารกคลอด
Cardinal movements of labor ซึ่งถือเป็นกลไกที่เป็นหัวใจสำคัญในการคลอดของทารกผ่านทางช่องคลอด
Flexion
การก้มคอของทารกเพื่อทำให้ผ่านมาในช่องทางคลอดได้ด้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของศีรษะที่เล็กที่สุด (SOB; Suboccipitobregmatic diameter)
Internal rotation
ศีรษะทารกจะมี sagittal suture อยู่ในแนวแกนตั้ง (occiput anterior; OA) ดังนั้นแสดงว่าจะต้องมีการหมุนของศีรษะทารกเกิดขึ้นในช่วงระยะทางระหว่าง pelvic inlet และ pelvic outlet ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเรียกว่าการเกิด internal rotation
ศีรษะทารกเกิด complete internal rotation หรือไม่จากการตรวจภายในและบอก position พร้อมทั้งแนว sagittal suture ของศีรษะทารก
Extension
การเงยขึ้นของศีรษะทารก ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อทารกมี internal rotation ที่สมบูรณ์จนกระทั่งอยู่ในท่า OA
ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมาจนอยู่ตรงบริเวณปากช่องคลอด (Vulvar) ของมารดา
Restitution & External rotation
ศีรษะของทารกคลอดออกมาแล้ว
Descent
การเคลื่อนต่ำลงของส่วนนำทารก
ยังไม่มี engagement เกิดขึ้นจนกว่าจะเป็นช่วงที่เข้าสู่ระยะคลอด การเกิด descent มักมาพร้อมๆกันกับ engagement เช่นกัน
ยังไม่มี engagement เกิดขึ้นจนกว่าจะเป็นช่วงที่เข้าสู่ระยะคลอด การเกิด descent มักมาพร้อมๆกันกับ engagement เช่นกัน
Expulsion
ไหล่ด้านที่อยู่ใต้ต่อ pubic symphysis) ออกมาก่อน ตามด้วยไหล่ด้านหลัง จากนั้นส่วนตัวของทารกที่เหลือทั้งหมดจึงคลอดตามมา
ขั้นตอนหลังจากเกิด external rotation แล้วส่วนไหล่ของทารกจะคลอดออกมา
Engagement
ส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำทารก
ทารกอยู่ใน occiput presentation หมายถึงระยะทางระหว่าง parietal bone ทั้งสองข้าง (BPD; Biparietal diameter) ได้ผ่านเข้ามาในกระดูกเชิงกรานของมารดาส่วน pelvic inlet เรียบร้อยแล้ว
ช่วงตั้งแต่ประมาณ 2-3 สัปดาห์ก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์คลอด
การเกิด engagement นั้นทารกมักจะปรับทิศทางของศีรษะให้แนว sagittal suture อยู่ในแนวขวาง (transverse) หรือแนวเฉียง (oblique) ต่อ pelvic inlet เพราะ engagement จะไม่เกิดขึ้นถ้าศีรษะทารกมี sagittal suture อยู่ในแนวตรง (anteroposterior) ต่อ pelvic inlet
การปรับเปลี่ยนและหมุนเพื่อให้เข้ากับช่องทางคลอดและ สามารถเคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานของมารดาได้