Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2...บทที่6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
2...บทที่6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)
สาเหตุ
เป็นผื่นสีแดงบวมที่ผิวหนัง (มักจะเกิดที่บริเวณขาหรือแขน) ทำให้รู้สึกแสบร้อน สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วในเวลาเพียง 24 ชั่วโมง
มีรอยบาดแผล รอยขีดข่วน หรือแมลงกัดต่อย
มีโรคทางผิวหนังเรื้อรัง (เช่น กลาก)
เป็นโรคอ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน
ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอเนื่องจากโรคเบาหวาน โรคไต หรือโรคตับ ลูคีเมียร์ (มะเร็งเม็ดเลือดขาว) และการรักษาด้วยการฉายรังสี หรือเอดส์
อาการ
มีผื่นที่ผิวหนังในทันทีทันใดและกระจายไปยังส่วนต่างๆอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง
บริเวณผิวที่อักเสบเป็นสีแดงมีขนาดใหญ่ขึ้น
รู้สึกปวดบริเวณที่ติดเชื้อ
เจ็บปวด
ผิวตึงและแตกออก
มีไข้
การรักษา
เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสามารถรักษาให้หายได้โดยทานยาปฏิชีวนะเป็นเวลา 10-14 วัน อาการจะเริ่มดีขึ้นประมาณ 3 วันให้หลัง แต่ถึงอย่างนั้นคุณก็ควรทานยาให้หมด
โรคไฟลามทุ่ง
อาการ
ผิวหนังที่เกิดรอยโรคจะมีลักษณะเป็นผื่นใหญ่แดงสด ปวด บวม และร้อน ถ้าใช้หลังมือคลำดูจะออกร้อนกว่าผิวหนังปกติ ต่อมาผื่นจะลุกลามขยายตัวออกไปโดยรอบอย่างรวดเร็วคล้ายไฟลามทุ่ง ผิวหนังในบริเวณนั้นจะนูนเป็นขอบแยกจากผิวหนังปกติอย่างชัดเจน (ผิวหนังจะบวมแข็งตึง) และมีลักษณะเป็นมันคล้ายเปลือกส้มหรือหนังหมู (Peau d’ orange)
การรักษา
ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวตามค้าแนะน้าของแพทย์
ผู้ป่วยพักผ่อนให้มาก ๆ พยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่อักเสบ เดินให้น้อยลง ควรยกแขนหรือขาส่วนที่อักเสบให้สูงขึ้นกว่าระดับหัวใจเพื่อลดอาการปวดบวม
ในผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง สามารถรักษาโดยการกินยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรียและรักษา
สาเหตุ
มาจากการติดเชื้อแบคทีเรียว่า “เบตาเฮโมโลติกสเตรปโตคอคคัสกลุ่มเอ” (group A beta-hemolytic streptococcus – GABHS) หรือที่มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า “สเตรปโตคอคคัส ไพโอจีนัส”
การรักษา
ในรายที่อาการยังไม่ดีขึ้นภายใน 3-5 วัน หรือมีอาการรุนแรง ผื่นยังลามหรือยังคงมีไข้ หรือพบในผู้ที่เป็นเบาหวานหรือผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่่ำ หรือสงสัยว่ามีภาวะโลหิตเป็นพิษแทรกซ้อน ควรรีบไปพบแพทย์ก่อนนัดเพื่อประเมินอาการ
ถ้าเป็นมากแพทย์จะรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาลและฉีดยาปฏิชีวนะอย่างยาเพนิซิลลินวี (Penicillin V) ในขนาด 1-2 ล้านยูนิต เข้าทางหลอดเลือดดำทุก ๆ 4-6 ชั่วโมง จนกว่าอาการจะทุเลาแล้วจึงค่อยเปลี่ยนไปใช้ยาปฏิชีวนะแบบกิน
โรคแผลพุพอง
สาเหตุ
จากผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรียชนิด Streptococcus pyogenes และชนิด Staphylococcus aureus ซึ่งเป็นเชื้อที่อาจพบได้บริเวณผิวหนังและทางเดินหายใจ
อาการ
มักพบเกิดเป็นรอยโรคที่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขน-ขา ที่มีแผลอยู่ก่อนแล้ว โดยเริ่มด้วยมีตุ่มน้ำหรือตุ่มหนองเล็กๆที่มีผนังบางๆซึ่งจะแตกออกง่ายจึงท้าให้บริเวณแผลแฉะไปด้วยน้้าเหลืองและน้ำหนอง ซึ่งบางบริเวณจะแห้งกรังเป็นสะเก็ดกรังสีหลืองๆคล้ายน้ำผึ้งเรียกว่า Impetigo contagiosa และในผู้ป่วยประมาณ 30% อาจมีตุ่มน้ำพองขนาดใหญ่ได้เรียกว่า Bullous impetigo
การวินิจฉัย
การสอบถามประวัติอาการ ประวัติการเกิดแผล ประวัติการสัมผัสโรค
การตรวจร่างกาย จากการตรวจดูรอยโรคเป็นสำคัญ โดยอาจส่งเพาะเชื้อจากแผลเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อโรคและเพื่อดูประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะต่อเชื้อที่ก่อโรคพุพอง
การตัดชิ้นเนื้อจากรอยโรคเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา
การรักษา
การดูแลแผล โดยการทำแผลด้วยน้ำเกลือทำแผล
การกำจัดเชื้อโรค คือ การทานยาปฏิชีวนะ
การป้องกัน
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยโรคพุพอง ไม่ใช้เครื่องใช้ร่วมกัน
เมื่อมีแผลเกิดขึ้นควรรักษาความสะอาดแผลเสมอ
ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะ เกา บีบ แผล
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูดข้าวสุก
อาการ
เป็นตุ่มขึ้นตามผิวหนัง มักพบขึ้นตามล้าตัว แขนขา รักแร้ ข้อพับแขน ขาหนีบ บริเวณอวัยวะเพศ (โดยเฉพาะในผู้ใหญ่) และอาจพบได้ที่บริเวณใบหน้าและรอบดวงตา
ตัวหูดจะมีลักษณะเป็นสีเหลืองหรือเป็นสีของผิวหนัง (สีเนื้อ) รูปโดม และมีลักษณะเฉพาะคือ ผิวหูดจะเรียบเป็นมันคล้ายไข่มุกและตรงกลางจะมีรอยบุ๋มลงไปคล้ายสะดือ
การติดต่อ
.
สามารถติดต่อได้โดยตรงจากการสัมผัสผิวหนังตรงรอยโรค
จากการแกะหรือเกาผิวหนัง
จากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วย
การใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย
ระยะฟักตัว
ตั้งแต่รับเชื้อมาจนเกิดอาการมักจะใช้เวลาประมาณ 2-7 สัปดาห์
การวินิจฉัย
จากการตรวจรอยโรคที่ผิวหนังด้วยตาเปล่า
สาเหตุ
เป็นไวรัสที่มีชื่อว่า “เอ็มซีวี”
การรักษา
มักจะหายไปได้เองภายใน 6-9 เดือน มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อาศัยเวลานานถึง 2-3 ปีหูดข้าวสุกจึงจะหาย โดยไม่ท้าให้เกิดแผลเป็น
ผู้ป่วยห้ามแกะหรือเกาที่บริเวณรอยโรค เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ควรแจ้งให้คู่นอนทราบ และไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาไปพร้อม กัน
เมื่อสัมผัสรอยโรค ควรล้างมือด้วยสบู่ล้างมือให้สะอาด
หูด (Warts)
การติดต่อ
หูดเป็นโรคติดต่อที่สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสถูกคนที่เป็นหูดโดยตรง แต่ผิวหนังที่มีบาดแผลหรือรอยถลอกจะติดเชื้อได้ง่ายกว่าผิวหนังที่ปกติ เพราะเชื้อไวรัสสามารถแทรกตัวลงไปได้ง่ายขึ้น
ระยะฟักตัว
เมื่อเชื้อไวรัสแทรกซึมเข้าไปในเซลล์ผิวหนังก็จะเกิดการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นหูดงอกออกจากผิวหนังส่วนที่ปกติ ซึ่งตั้งแต่รับเชื้อมาจนเกิดอาการมักจะใช้เวลาประมาณ 2-8 เดือน
สาเหตุ
หูดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี หรือ “ฮิวแมน แปปิโลมา ไวรัส” (Human Papilloma Virus – HPV)
อาการ
หูดที่พบได้บ่อยที่สุด มีลักษณะนูนเป็นตุ่มกลมแข็ง ผิวหยาบ ขรุขระ ออกเป็นสีเทา ๆ เหลือง ๆ หรือสีน้้าตาล
การวินิจฉัย
ดูอาการของผู้ป่วย การตรวจลักษณะของก้อนเนื้อ และอาจต้องตัดชิ้นเนื้อเพื่อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
การรักษา
ด้วยยาใช้ภายนอก
การใช้แสงเลเซอร์
การผ่าตัด
ใช้สารเคมี
การรักษาด้วยความเย็น
การรักษาด้วยระบบอิมมูน
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis):
ตำแหน่ง
ช่องปาก ผิวหนัง
อาการ
candidiasis ของผิวหนังเป็นผื่น ผื่นมักจะทำให้เกิดอาการแดงและมีอาการคันที่รุนแรง ในบางกรณีการติดเชื้ออาจท้าให้ผิวหนังแตกและเจ็บได้ แผลและ pustules อาจเกิดขึ้น
สาเหตุ
เชื้อ candida albicans
การป้องกัน
ปฏิบัติตาม แพทย์ พยาบาล แนะน้า รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน
ใช้ยาต่างๆตามแพทย์สั่งให้ครบถ้วน ไม่ขาดยา ไม่หยุดยาเองถึงแม้อาการจะดีขึ้นแล้ว
รักษาควบคุมโรคต่างๆที่เป็นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงให้ได้ดี
การรักษา
การใช้ยาต้านเชื้อราชนิดต่างๆตามความรุนแรงของอาการและตามดุลพินิจของแพทย์
การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น การให้สารน้ำกรณีมีภาวะขาดน้้ำจากเจ็บคอจนดื่มน้้ำได้น้อย การใช้ยาแก้ปวด/เจ็บกรณีเจ็บที่รอยโรคมาก เป็นต้น
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
สาเหตุ
เชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
ผิวราบขนาดเล็ก สีต่างๆ มีขุยบางๆ มักพบบริเวณคอ หน้าอก หลังและต้นแขน
การรักษา
ทำความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่มยีสต์
โรคกลาก
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่ม dermatophyte เชื้อรากลุ่มนี้จะก่อโรคในส่วนของผิวหนังที่สร้างเคอราติน (keratin) เท่านั้น จะเกิดโรคได้ที่ ผิวหนัง เส้นผมและเล็บ
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิก
โรคกลากที่ศีรษะ (tinea capitis)
โรคกลากที่ล้าตัว (tinea corporis)
โรคกลากที่ใบหน้า (tinea faciei)
โรคกลากที่ขาหนีบ (tinea cruris)
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ขูดขุยหรือสะเก็ดจากผื่น
การเพาะเลี้ยงเชื้อ ท้าเฉพาะในรายที่มีปัญหาทางการวินิจฉัยและการรักษา
การรักษา
1.ยาทา
ระยะเวลาที่ให้ขึ้นกับต้าแหน่งที่เป็นคือ กลากที่ผิวหนังทั่วไป ให้นาน 2 - 4 สัปดาห์
กลากที่หนังศีรษะ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า อย่างน้อย 6 - 8 สัปดาห์
2.ยารับประทาน
กลากที่หนังศีรษะ เส้นผม และเล็บ
กลากที่ผิวหนัง ที่เป็นบริเวณกว้าง ไม่ตอบสนองต่อยาทา เป็นเรื้อรัง หรือกลับเป็นซ้้าบ่อย ๆ
รายที่มีโรคตามระบบอื่น ๆ หรือได้ยากดภูมิต้านทาน
โรคผิวหนังอักเสบ
เป็นการอักเสบของผิวหนัง คัน อาจเกิดจาสาเหตุภายในหรือภายนอกเป็นตัวกระตุ้น แบ่งเป็น 3 ระยะ
1.ระยะเฉียบพลัน
2.ระยะกึ่งเฉียบพลัน
3.ระยะเรื้อรัง
สาเหตุ
มักพบในเด็กอายุ 2-3 เดือน และ 2-3 ปี ภูมิแพ้ พันธุกรรม การติดเชื้อ
การรักษา
ระยะเฉียบพลัน: ใช้ล้างแผลแบบเปียกด้วยน้ำเกลือและด่างทับทิม
ระยะกึ่งเฉียบพลัน: ทา corticosteroid cream
ระยะเรื้อรัง: ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือ ointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลง
ยาลดคัน
ต้องแห้งสะอาด ไม่หมักหมม
ทาวาสลีนเพื่อไม่ให้ผิวสัมผัสกับปัสสาวะ อุจจาระ
ถ้าผิวหนังอักเสบมาก อาจใช้ยาต้านเชื้อราร่วมด้วย
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies) พบบ่อยในเด็ก
ลักษณะ: ผื่นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้ำใสขนาดเล็ก
การวินิจฉัย: ตรวจ KOH
สาเหตุ: เกิดจากตัวหิด
เหาศีรษะ (Head louse)
ลักษณะ: คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัย: ตรวจหาไข่เหา
สาเหตุ: เกิดจากตัวเหา
การรักษา: การตัดผมสั้น ทำความสะอาดเครื่องนอน สระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ดน้อยหน่าตำหมักผม หวีเอาไข่เหาออก การให้ยาปฏิชีวนะ
โรคติดเชื้อของวัคซีน
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีทั่วไปตามธรรมชาติ เช่นตามพื้นดิน และมูลสัตว์ ง่ายต่อการติดต่อเมื่อสิ่งสกปรกเข้าไปในแผล แบคทีเรียสร้างพิษ และมีผลท้าให้กล้ามเนื้อรัดและแข็งตัว หากไม่ได้รับการรักษา อาจเสียชีวิตได้ แต่หากต้านเชื้อทันเวลาก็สามารถรักษาได้ แต่การป้องกันที่แน่นอนที่สุดคือการฉีดวัคซีน
โรคไอกรน (Pertussis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่สร้างสารพิษ แบคทีเรียนั้นติดต่อโดยง่ายดายระหว่างคนต่อคนโดยละอองไอ อาการเริ่มต้นคือมีหวัดเล็กน้อย จากนั้นจะไอมากขึ้น มีเสมหะ และอาการไออย่างหนัก โดยเฉพาะช่วงเวลากลางคืน โรคนี้นั้นยากต่อการรักษาและใช้เวลานาน และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตของเด็กอ่อนได้ เด็กจะมีอาการไอพร้อมเสียงหืด ยาแก้อักเสบให้ผลน้อยมาก นอกจากว่าให้ตั้งแต่เริ่มอาการ การฉีดวัคซีนจะช่วยป้องกันได้และส้าคัญมาก คือให้วัคซีนตั้งแต่ยังเล็กเพราะโรคนี้อันตรายที่สุดส้าหรับเด็กอ่อน
โรคโปลิโอ (Polio) หรือโรคแขนขาลีบ
เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถแพร่เชื้อสู่คนได้โดย สิ่งปฏิกูล อาหาร และน้ำ อาจรวมไปถึงละอองไอด้วย อาการของโรค อาจมีเพียงเล็กน้อย หรืออาจร้ายแรงเนื่องจากอาการอัมพาตจนอาจถึงชีวิตได้ ไม่มียาประเภทใดที่รักษาโรคนี้ได้ การฉีดวัคซีนนั้นให้ประสิทธิภาพที่ดี และใกล้ที่จะก้าจัดโรคนี้ให้หมดไปจากโลกได้
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดบี (Haemophilus Influenzae B)
เป็นเชื้อแบคทีเรียที่สามารถก่อให้เกิดโรคร้ายแรงได้ เช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบ โรคปอดบวม ติดเชื้อในกระแสเลือด และโรคไขข้ออักเสบ วัคซีนป้องกันเชื้อแบคทีเรียนี้ได้ประสิทธิภาพที่ดี
โรคคางทูม(Mumps)
เกิดจากเชื้อไวรัส ส่วนใหญ่แล้วอาการไม่ร้ายแรง แต่อาจมีอาการข้างเคียงที่อันตราย อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ สมองอักเสบ ส่วนอาการข้างเคียงอื่นๆ คือ หูหนวก และ ถุงอัณฑะอักเสบซึ่งส่งผลให้เป็นหมันได้ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้ไห้ผลเป็นอย่างดี