Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของ สิ่งที่คลอดออกมา (Abnormaliity of passenger) - Coggle…
ความผิดปกติของ
สิ่งที่คลอดออกมา
(Abnormaliity of passenger)
การคลอดไหล่ยาก
(shoulder dystocia)
สาเหตุ
ทารกตัวโต
GDM ผู้คลอดอ้วน คาดคะเน น้ำหนัก
ทารกในครรภ์ มากกว่า 4000 กรัมตั้งครรภ์ เกินกำหนด
ทารกมีเนื้องอก พิการบริเวณ ต้นคอ
ไหล่ และทรวงอก
ช่องเชิงกรานแคบ
ผลกระทบ
สายสะดือถูกกดทับ
ทารกบาดเจ็บจากการช่วยคลอด เช่น
Erb-Duchene paralysis
ทารกขาดออกซิเจน ขณะคลอด
ผู้คลอด ช่องทางคลอดขาดหรือช้ำ
PPH
ผู้คลอด ได้รับอันตราย เช่น
มดลูกแตก ติดเชื้อหลังคลอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ GDM ตั้งครรภ์เกินเคยคลอดบุตร
ตัวโตมาก่อน หรือ ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
2 . ตรวจร่างกาย ผู้คลอดอ้วน น้ำหนัก เพิ่ม > 15 Kg.
การตรวจครรภ์ ขนาดหน้า ท้องใหญ่
กว่าปกติ คาดคะเน น้ำหนัก ทารกมากกว่า
4,000 กรัม พบในทารก ท่าผิดปกติ
ประเมินภายหลังทารกคลอดแล้ว พบศีรษะมีขนาดใหญ่ คางแนบสนิทอยู่กับปากช่องคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาส เกิดการฉีกขาด
และยืดขยายมากผิดปกติของช่องทางคลอด
ฝีเย็บเนื่องจากการคลอดไหล่ยาก
วิตกกังวล จากการ คลอดติดไหล่
ทารก มีโอกาสเกิดอันตราย
จากการคลอดติดไหล่
การพยาบาล
ประเมินสภาพพบความเสี่ยง
ให้รายงานแพทย์ทราบเพื่อพิจารณา
ช่วยคลอดวิธีที่ เหมาะสม
กรณีคลอดไหล่ยากภายหลังคลอด
ศีรษะแล้วให้รีบรายงานกุมารแพทย์เตรียมอุปกรณ์ ฟื้นคืนชีพทารกให้พร้อม
กรณีทำคลอดไหล่หน้าตามปกติ
ไม่สำเร็จให้เปลี่ยนทำคลอดไหล่หลังก่อน
ไม่สำเร็จรายงานแพทย์ช่วยเหลือ เบื้องต้นวิธี McRoberts maneuver ในรายที่ไม่ได้ผลให้กดเหนือหัวเหน่งsuprapubic compression ร่วมด้วย หากไม่ได้ผลให้ทำวิธี คลอดไหล่ อย่างอื่น
ได้แก่ Delivery of posterior arm ,Zavanelli maneuver
ดูแลทารกแรกคลอดประเมิน
อาการผิดปกติโดยเฉพาะอัมพาตแขนกระดูก ไหปลาร้าหัก การฉีกขาดกล้ามเนื้อคอ
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
ตรวจสอบการฉีกขาดของช่อง
ทางคลอดอ่อน
ประเมินปริมาณเลือดที่ออก
ทางช่องคลอดและอาการแสดงของตกเลือด
ให้ การดูแลด้านจิตใจของผู้คลอด
ความผิดปกติ
ของขนาดและะรูปร่าง
ผลกระทบ
คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดติดขัด
ช่องทางคลอดอ่อนฉีกขาด
ความผิดปกติ
ทารกตัวโต Macrosomia นอน. >4000g
ทารกหัวบาตร Hydrocephalus
ทารกแฝดติดกัน Conjoined twins
ทารกท้องโต ผิดปกติ ท้องมานน้ำ
ตับ ไตโต ทารกบวมน้ำ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติGDM ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ถุงน้ำแตก ก่อนกำหนด
2 . ตรวจร่างกายผู้คลอดอ้วนน้ำหนัก เพิ่ม > 15 Kg.
การตรวจครรภ์ คลำพบ ศีรษะขนาดใหญ่ในรายที่
ทารกหัวบาตร ขนาดหน้าท้องใหญ่กว่าปกติ คาด คะเนน้ำหนักทารกมากกว่า 4000 กรัม พบในทารกท่าผิดปกติ
ตรวจภายใน คลำส่วนนำไม่ได้อยู่สูงมากหรือ
ส่วนนำผิดปกติ
U/S X-ray
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ระยะคลอดยาวนาน คลอดยาก หรือ
การคลอดติดขัด เนื่องจากทารกมีขนาด
และรูปร่างผิดปกติ
ผู้คลอดและทารก มีโอกาส
เกิดอันตรายจากการคลอดยาวนานหรือการคลอดติดขัด เนื่องจากทารกมีขนาดและรูปร่างผิดปกติ
มีโอกาสเกิดการฉีกขาดและ
ยืดขยายมากผิดปกติของช่องทางคลอดฝีเย็บ เนื่องจาก ทารกมีขนาดและรูปร่าง ผิดปกติ
ไม่สุขสบายจากการเจ็บครรภ์
คลอดมากจากการคลอดยาวนาน
เนื่องจากทารกมีขนาดและรูปร่างผิดปกติ
การพยาบาล
ให้ผู้คลอด NPO ดูแล IV
ดูแลให้ผู้คลอด นอนพักบนเตียง
ลดการกระตุ้นต่างๆที่ส่งเสริมให้ถุงน้ำคร่ำแตก
ประเมิน FHS
รายที่ถุงน้ำคร่ำแตกให้รีบฟังFHS และตรวจภายในทันที
เพื่อประเมินสายสะดือพลัดต่ำ
ตรวจภายในเป็นระยะๆ
ประเมิน การหดรัดตัวของมดลูกทุก
30 นาที - 1 ชั่วโมง
ติดตามความก้าวหน้า ของการคลอด
ด้วย WHO pantograph
1 more item...
ความผิดปกติของ
ส่วนนำและท่าของทารก
ท่าท้ายทอย
อยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า
(Occiput posterior persistent : OPP)
สาเหตุ
ศีรษะทารกก้มน้อยหรือช้าไป
เมื่อเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ศีรษะทารกใหญ่หรือ เล็กเกินไป
ทำให้ไม่กระชับ ช่องทางคลอด
เชิงกรานแคบ โดยแคบในแนว ขวางของ
Midpelvic เช่น Android or Anthropid
ผนังหน้าท้องหย่อนยานมาก เช่น
ผู้ที่ผ่านการคลอดหลายครั้ง
มีสิ่งกีดขวางการหมุน เช่น
รกเกาะด้านหน้าของมดลูก เนื้องอกในช่องเชิงกราน
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี หรือ
แรงเบ่งน้อย
1 more item...
ผลกระทบ
การคลอดยาวนาน คลอดยาก หรือ
หยุดชะงัก
อาจต้องใช้สูติศาสตร์
หัตถการช่วยคลอด หรือ C/S
ผู้คลอดปวดหลังและเอวมาก
เนื่องจากท้ายทอยมากด sacral nerve
ผนังช่องคลอดและฝีเย็บยืดขยาย
ฉีกขาด
ปากมดลูกบวม อาจฉีกขาดได้
เนื่องจากศีรษะทารกกดอยู่นาน
ผู้คลอดเหนื่อยล้าติดเชื้อ
และตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย
1 more item...
ประเมินสภาพ
1.ตรวจครรภ์ โดยการ ดู คลำ ฟัง ดังนี้
สังเกตลักษณะหน้าท้อง
พบรอยบุ๋ม ต่ำกว่าระดับสะดือมีรอยนูน
บริเวณเหนือหัวเหน่งเล็กน้อย
สังเกตการดิ้นพบทารกดิ้นทั่วท้อง
Second Leopold handgrip
ทารกอยู่ใน longitudinal lie
ฟัง FHS ได้ยินบริเวณ ใกล้เส้น
กึ่งกลางลำตัว ผู้คลอด แต่เสียงเบากว่ารายทารกมี occiput anterior ส่วนรายที่ occiput
เฉียงหลัง หรือ occiput transverse ฟังได้ยินบริเวณ ข้างลกตัวผู้คลอด
ตรวจภายใน รายที่ occiput posterior พบ
sagittal suture แนวหน้าหลัง ของช่องทางคลอดตำแหน่ง posterior fantanel อยู่ใกล้กระดูก
ก้นกบ
อาการที่สงสัย ได้แก่ ปวดหลัง
และเอวมาก แม้ขณะมดลูกคลายตัวลมเบ่งระยะปากมดลูกเปิดน้อยปากมดลูกบวม ศีรษะทารก มีก้อนโนระยะที่1, 2 ของการคลอดยาวนาน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอด และทารกมีโอกาส
เกิดอันตรายจากการคลอดยาวนาน หรือการคลอดติดขัด เนื่องจากทารกมีท่าผิดปกติ
2.มีโอกาสเกิดการบวมช้ำ
ฉีกขาดของปากมดลูกเนื่องจากมีลมเบ่งตั้งแต่ปากมดลูกยังไม่เปิดหมด
มีโอกาสเกิดการฉีกขาดและ
ยืดขยายมากผิดปกติของช่องทางคลอดฝีเย็บ เนื่องจากทารกมีท่าผิดปกติ
ไม่สุขสบายจากการเจ็บครรภ์
คลอดมากเนื่องจากการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดมีความกลัวหรือ
วิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด
การพยาบาล
ประเมินการหด รัดตัวของมดลูก D<40.
วินาที I > 3 นาที หดรัดตัวไม่มีแรง หรือหดรัดตัวไม่ประสานกัน ให้รายงานแพทย์
ดูแลให้มดลูกหดรัดตัวดี
ช่วยให้เกิดการเคลื่อนต่ำของส่วนนำของทารก
กระตุ้นให้ปัสสาวะทุกม2-4 ชั่วโมง
จัดท่าผู้คลอดเพื่อช่วย
หมุนทารกให้ดีขึ้นช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น
บรรเทาอาการปวดเกิดจากการกดทับ sacral nerve
จัดท่าดังนี้
นอนตะแคง lateral position
ท่าศีรษะ และลำตัวสูง upright
position
ท่าคุกเข่า ฟุบหน้าท้องบนหมอน
modified knee-chest position
ท่าคลาน four-leg position
NPO ดูแลให้ IV
ตามแผนการรักษา
สอนกระตุ้นให้ผู้คลอด
ใช้เทคนิคการบรรเทาปวดด้วยวิธีต่างๆ
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
อย่างใกล้ชิด ฟัง FHS ทุก 30นาที ในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
ระยะที่ 2 ของการคลอดฟังทุกครั้งที่มดลูกคลายตัว
เตรียมอุปกรณ์การช่วยคลอด
ด้วยสูติศาสตร์ หัตถการไว้ให้พร้อม และช่วยคลอดท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลัง ทางช่องคลอด ตัดฝีเย็บแบบ Mediolateralให้ยาว กว่าปกติ
ทำคลอดไหล่
และลำตัวตามปกติและประเมิน apgar score
ให้การช่วยเหลือทารก ตามสภาพตรวจร่างกายอย่างละเอียดโดยเฉพาะบริเวณศีรษะ
ประเมิน ปริมาณเลือดออก
และเฝ้าระวังภาวะตกเลือดภาวะตกเลือด
ท่าก้น Breech
presentation
สาเหตุ
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตัวเล็ก
ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
ผนังหน้าท้อง หรือ กล้ามเนื้อมดลูก
หย่อน เช่น กรณีผ่านการคลอดหลายครั้ง
กระดูกเชิงกรานแคบ
มีสิ่งกีดขวาง
การเข้าสู่อุ้งเชิงกราน เช่นรกเกาะต่ำ ครรภ์แฝด เนื้องอกในมดลูก
ทารกโตช้าในครรภ์ ทารกคายในครรภ์
ทารกพิการ รูปร่างผิดปกติ Anencephaly , Hydrocephalus
ชนิดของการคลอ
ด
คลอดทางช่องคลอด
การคลอดเอง
Spontaneous breech delivery
การช่วยคลอด Breech assisting or
partial breech extraction
การดึงทารก ออกมา Breech extraction or
total breech extraction
ผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้อง
ปัจจัยที่สำคัญดังนี้
มีก้นเป็น ส่วนนำ Frank breech
ศีรษะทารกอยู่ในลักษณะก้ม
คาดคะเน น้ำหนัก ทารกน้อยกว่า
3500 g
อายุครรภ์ 36-42 สัปดาห์
5.ช่องเชิงกรานมีขนาดและ
รูปร่างผิดปกติ
มีอุปกรณ์ และบุคลากร
ทางการแพทย์พร้อม
ประเมินสภาพ
ซักประวัติ
รู้สึกดิ้น บริเวณส่วนล่าง ของมดลูก
มากกว่า ส่วนบน ท้องอืด แสบยอดอกหายใจลำบาก เจ็บชายโครงกระเพาะอาหาร
รู้สึกดิ้น บริเวณส่วนล่าง ของมดลูก
มากกว่าส่วนบน ท้องอืด แสบยอดอกหายใจลำบาก เจ็บชายโครงกระเพาะอาหาร
ตรวจด้วย Leopold handgrip
First handgrip พบ มดลูก รูปร่าง
สามเหลี่ยมที่มียอดมดลูก อยู่ด้านล่าง
Third handgrip พบบริเวณ
หัวเหน่าลักษณะ นุ่ม ใหซ่าไม่เรียบคลำไม่พบ ร่องคอ คลำส่วนนูนท้ายทอย หน้าผากไม่ได้
Fourth handgrip คลำพบก้นเข้า
สู่ช่องเชิงกรานไม่พบ cephalicprominence
ฟัง FHS ตำแหน่งที่ชัด อยู่เหนือ
เส้นที่ลากจากสะดือไปยัง anterior superior iliac spine หรือระดับสะดือขึ้นไป
ตรวจภายใน ลักษณะนุ่มแต่ไม่เรียบ พบส่วนเท้าหรือ เข่าของทารก คลำได้ร่องก้นกระดูก sacrum , spinous process ,
ischial tuberosities ทั้งสองข้าง คลำรอยบุ๋มรูทวารหนักอาจมีขี้เทาติดมือ คลำได้อวัยวะเพศ
U/ S X -ray
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอด มีโอกาส เกิดอันตราย
จาการคลอด ยาวนาน การคลอด ติดขัด หรือการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์ หัตถการ
เนื่องจากมีก้น เป็นส่วนนำ
ทารกเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจน
เนื่องจากมีความเสี่ยงสูงในการเกิดภาวะสายสะดือ พลัดต่ำสายสะดือถูกกดทับ ทารกสูด น้ำคร่ำและ ขี้เทาเข้าปอดในระยะก่อนศีรษะคลอด
ทารกเสี่ยงต่อภาวะเลือดออกในสมอง
และอวัยวะต่างๆได้รับอันตรายเนื่องจากการคลอดยาก หรือ คลอดติดขัด
กิจกรรมการพยาบาล
การพยาบาลในระยะคลอด
ให้ผู้คลอด NPO ดูแล IV
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อตรวจความเข้มข้นของเลือดหมู่เลือด
ตามแผนการรักษา
รายที่ถุงน้ำคร่ำแตกให้รีบฟัง
FHS และตรวจภายในทันทีเพื่อประเมินสายสะดือพลัดต่ำ
ถุงน้ำแตก นอนตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจน
4.ประเมิน การหดรัดตัว ของมดลูก
ทุก30 นาที - 1 ชั่วโมง
ประเมิน FHS และ การดิ้นของทารก
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนิน
การคลอดแผนการดูแลรักษา
จัดเตรียมอุปกรณ์ การช่วยคลอด
ท่าก้นทีมงาน และอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารก ไว้ให้พร้อม
การพยาบาล ระยะที่ 2
ของการคลอด
รายงานสูติแพทย์ กุมารแพทย์
วิสัญญีแพทย์เพื่อเตรียมให้การช่วยเหลือผู้คลอด และทารก
เตรียมอุปกรณ์การช่วยคลอดท่าก้น
และ อุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารก
เตรียมผู้คลอด ท่าLithotomy position
ประเมินและบันทึก การหดรัดตัว
ของมดลูกทุก 5 นาที และฟังFHS
ทุกครั้งที่มดลูกคลายตัว
กระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อ
ส่วนนำลงต่ำแล้ว
1 more item...
ท่าหน้า Face
presentation
เงยศีรษะ
แทนที่จะก้มตามปกติเมื่อผ่านเข้าสู่
ช่องเชิงกรานท้ายทอยอยู่ชิดหลัง
มีคางเป็นส่วนนำ
ท่าหน้าผาก Brow
presentation
สาเหตุท่าหน้า
และท่าหน้าผาก
เชิงกรานแคบ หรือ ศีรษะทารกโต
ทารก รูปร่าง ผิดปกติ Anencephaly
กระดูกสันหลังผิดปกติ
ผนังหน้าท้อง หย่อนมาก
ครรภ์แฝดน้ำ
สิ่งกีดขวาง ในช่องเชิงกราน
ผลกระทบ
การคลอดยาวนาน
ผู้คลอด และทารก มีโอกาส
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาวนานใช้สูติศาสตร์หัตถ การช่วยคลอด
ผู้คลอดเหนื่อย ล้า มีภาวะขาดน้ำ
จากการคลอดยาวนาน
อาจเกิด ภาวะมดลูก แตกจากการ
คลอดติดขัด
ฝีเย็บ และช่องคลอดฉีกขาด
ทารกเสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด อาจเกิด
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
บริเวณใบหน้า ริมฝีปากลิ้น
ทารกบวมผิดรูปร่าง หายใจลำบากไม่ค่อยดูดนม
เลือดออกในกะโหลกศีรษะ ร่วมด้วย
ประเมินสภาพ
ตรวจครรภ์Second Leopold handgrip
คลำแผ่นหลังไม่ชัดเจน คลำส่วนนูน ของศีรษะทารก ด้วย Fourt Leopold handgrip พบส่วนนูนของ ศีรษะอยู่สูงไปด้านหน้า ศีรษะผู้คลอด
ตรวจภายในคลำได้หน้าลักษณะขรุขระ นุ่ม
แข็งไม่สม่ำเสมอคลำได้ปาก จมูก เบ้าตา
U/ S หรือ X- ray
การพยาบาล
ให้ผู้คลอด NPO ดูแล IV
ส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อตรวจ ความเข้มข้นของเลือดหมู่เลือด
ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง
ลดการกระตุ้นต่างๆที่ส่งเสริมให้ถุงน้ำแตก
กรณีแพทย์พิจารณาให้คลอด
ทางช่องคลอดให้การดูแล ดังนี้ ตรวจภายในประเมิน
การหดรัดตัว ของมดลูก
รอยคอด Bandl’s ring
ประเมิน FHS
ดูแล ความสุขสบาย ของร่างกาย และ
ประคับ ประคองด้านจิตใจ
กรณี ท่าหน้าเป็นส่วนนำ
ต้องตัดฝีเย็บแบบเฉียงและยาวมากขึ้น
ดูแลทารกแรกคลอดอย่างใกล้ชิด
ท่าขวาง Transverse lie
สาเหตุ
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเคลื่อนไหว
ได้สะดวกมาก
ผนังหน้าท้องและ มดลูกหย่อนยาน,ครรภ์แฝดน้ำ,คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเข้าสู่
ช่องเชิงกราน
รกเกาะต่ำ,
ช่องเชิงกรานแคบ,ทารกหัวบาตร
สายสะดือสั้นกว่าปกติ,เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ผลกระทบ
คลอดยาวนาน หรือ คลอดติดขัด
จากท่าผิดปกติ
เกิดสายสะดือ พลัดต่ำ
หรือถูกกดได้มาก
เกิดการติดเชื้อ ในโพรงมดลูกได้มาก
เนื่องจาก ถุงน้ำคร่ำ แตก
อาการเจ็บปวดมาก เนื่องจากไหล่
จะลงมาอัดแน่น ในช่องเชิงกราน และเกิดมดลูกแตก
ปากมดลูกและผนังช่องคลอด
ฉีกขาดมาก
ทารก มีโอกาสขาดออกซิเจน
และเสียชีวิตได้มาก
1 more item...
การประเมินสภาพ
ซักประวัติถุงน้ำคร่ำ แตกก่อนกำหนด
ตรวจครรภ์รูปร่าง มดลูกอยู่ในแนวขวางหรือ
เฉียงกับลำตัวระดับยอดมดลูก ต่ำกว่าปกติคลำได้ศีรษะหรือก้นทางด้านข้างของหน้าท้องตำเเหน่งFHS อยู่ระดับต่ำกว่าสะดือ
การตรวจภายใน ระยะแรก คลำส่วนนำไม่ได้
หรืออยู่สูงมากระยะหลังส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมา
คลำพบลักษณะแข็งและนุ่มไม่สม่ำเสมอ
อาจคลำพบกระดูกซี่โครงในรายที่ทารกตัวเล็ก
พบมือ แขน
U/S X-ray
การพยาบาล
หากผู้คลอดที่สงสัยว่าทารกอยู่
ในท่าขวางและถุงน้ำไม่แตกให้รีบรายงานแพทย์
เพื่อการวินิจฉัยที่ชัดเจน
ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง
ลดการกระตุ้นต่างๆ ที่ส่งเสริมให้ถุงน้ำแตก
กรณีถุงน้ำแตก ให้ฟัง FHS
พร้อมสังเกตการดิ้นของทารกหากพบผิดปกติให้
รีบรายงานแพทย์
ให้ผู้คลอด NPO และ ให้ IV
เตรียมความพร้อมเพื่อ C/S
กรณีทารกท่าขวางแพทย์พิจารณา
ให้หมุนกลับทารกทางหน้าท้องให้ดูแลเช่นเดียวกับการหมุนกลับทารกท่าก้น
กรณีช่วยคลอดทางช่องคลอดรายงาน
กุมารแพทย์และให้การพยาบาลเช่นเดียวกับการคลอด ท่าก้นทางช่องคลอด
ท่าผสม Compound
presentation
ท่าส่วนนำหลายอย่างพบบ่อย
ศีรษะกับมือต้อง C/S