Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาส…
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน
อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
1.การจัดบริการในหน่วยงาน
ความสำคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
สามารถส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บมีอาการหนักกว่าเดิม
สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วยได้
บทบาทของพยาบาลชุมชนเกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ด้านการรักษาพยาบาล
ต้องประเมินและจำเเนกผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บ เพื่อช่วยเหลือเบื้องต้น
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต
ด้านการป้องกัน
วางเเผน เตรียอุปกรณ์ต่างๆและบุคลากรให้พร้อม
การบรรเทาสาธารณภัย
อุบัติภัยหมู่ (Mass Casualty Incident :MCI) เหตุการณ์ที่มีการบาดเจ็บหลายคนในคราวเดียวกัน
type of disaster
1.ตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ :ภัยพิบัติทางธรรมชาติ, จากการกระทำของมนุษย์, จากเทคโนโลยี
2.ตามสถานการณ์ :ในภาวะปกติ, ภาวะฉุกเฉิน, ภาวะสงคราม
การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Triage หมายถึงการค้นหา การคัดเเยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่ม
เพื่อช่วยเหลือตามลำดับความรุนเเรง
ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย
ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจ
ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันและเหมาะสม
ช่วยลดความเครียด เพิ่มความพึงพอใจจของผู้ป่วยและญาติ
การลดค่าใช้จ่าย
แบ่งผู้ป่วยออกเป็น 3 กลุ่ม
Early Deaths 30%
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง
สาเหตุ : เลือดออกในเยื่อหุ้มสมอง มีเลือด/ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด ตับหรือม้ามแตก หรือการเสียเลือดอย่างมาก
:explode: ช่วงGolden hour สามารถช่วยให้ผู้ป่วยรอดได้
Late Deaths 20%
ระยะเวลาในการเสียชีวิต เป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
สาเหตุ : จากการติดเชื้อในกระเเสเลือด อวัยวะภายในร่างกายล้มเหลว
Immediate Deaths (การตายเเบบเฉียบพลัน) 50%
อาจเกิดขึ้นในเวลาที่เป็นวินาทีหรือนาที
สาเหตุ : การขาดอากาศหายใจ หัวใจได้รับการกระทบอย่างรุนเเรง
การแบ่งประเภทของการ Triage
การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ (Field Triage)
1.1การคัดเเยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก (Disaster Triage) ระบบในการคัดเเยกผู้ป่วยกรณีอุบัติเหตุหมู่
:check: 1.1.1 START (Simple Triage and Rapid Treatment)
:star:การประเมิน การหายใจ (Respiratory) อัตราการหายใจ30ครั้ง/นาที :star: การไหลเวียนโลหิต (Perfusion)capillary refill มากกว่าหรือน้อยกว่า 2 วินาที :star:ระดับความรู้สึกตัว (Mental status)ทำตามคำสั่งได้หรือไม่
กลุ่มสีแดง (immediate) เป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน
กลุ่มสีเหลือง (delayed) เป็นกลุ่มผู้ป่วยถัดไปที่ต้องการรักษาพยาบาล
กลุ่มสีเขียว (minor) เป็นกลุ่มถัดไปที่ได้รับการรักษาถัดจากสีเหลือง
กลุ่มสีดา (deceased) เป็นกลุ่มที่ไม่ต้องทาการช่วยเหลือเนื่องจากโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
:check:JumpSTART ใช้ในเด็กอายุ 1-8 ปีมีข้อแตกจาก STARTคือ
กรณีผู้ป่วยเด็กที่ไม่หายใจหลังจากเปิดทางเดินหายใจแล้ว ให้คลาชีพจรก่อน
ถ้าไม่มีชีพจรให้เป็นสีดำ
ถ้ามีชีพจรให้ช่วยหายใจ 5 ครั้ง ถ้าผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เองให้เป็นสีแดง
หลังจากช่วยหายใจถ้าผู้ป่วยไม่หายใจด้วยตนเองให้เป็นสีดำ
การประเมินการหายใจใช้น้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 45 ครั้ง/นาที จึงจัดเป็นกลุ่มสีแดง
การประเมินการรู้สึกตัวในเด็กใช้เป็น
A = Alert = สีเหลือง
V = Verbal ตอบสนองต่อเสียงเรียกอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
P = Pain ตอบสนองต่อความเจ็บป่วยอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
U = Unresponsive ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น = สีแดง
1.1.2 การคัดแยกตามหลักของ Major Incident Medical Management and Support (MIMMS)
:star:การคัดแยกครั้งแรก (Primary Triage) โดยทำที่จุดเกิดเหตุโดยการใช้ Triage sieve
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเดินได้ โดยการประเมินทางเดินหายใจ (air way)
ผู้ป่วยที่ไม่หายใจ ให้เปิดทางเดินหายใจ โดยการทำ head tilt/ chin lift หรือ jaw thrust
เปิดทางเดินหายใจแล้ว ผู้ป่วยไม่หายใจ จัดอยู่กลุ่ม T4, Expectant, สีน้ำเงิน/สีดำ ซึ่งเป็นผู้ป่วยกลุ่มที่มีโอกาสเสียชีวิตสูง :star:
ถ้าเปิดทางเดินหายใจแล้ว ผู้ป่วยหายใจได้ ให้จัดผู้ป่วยอยู่ในกลุ่ม T1, Immediate, สีแดง ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาเพื่อช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วนโดยทันที :star:
ผู้ป่วยที่สามารถหายใจได้ ให้ประเมินอัตราการหายใจ (Breathing) < 10 ครั้ง/นาที หรือ> 30 ครั้ง/นาที ให้จัดผู้ป่วยอยู่ใน T1, Immediate, สีแดง
ผู้ป่วยที่สามารถเดินได้ : กลุ่ม T3, minimal, สีเขียว เป็นผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง
ถ้าผู้ป่วยหายใจ 10-29 ครั้ง/นาที ให้ประเมินการไหลเวียน (Circulation)ตรวจ Capillary refill กดบริเวณเล็บนาน 5 วินาทีแล้วปล่อย
Capillary refill >2s / P >120ครั้ง/นาที จัดอยู่กลุ่ม T1, Immediate, สีแดง ช่วยเร่งด่วนทันที
Capillary refill <2s / P <120ครั้ง/นาที จัดอยู่กลุ่ม T2 Delay สีเหลือง
ในส่วนนี้จากการดูหนังจะเกิดการผิดพลาดในการช่วยเกี่ยวกับทางเดินหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจที่ไม่ถูกต้องเพราะขาดการประเมินหลังทำการใส่ท่อส่งผลให้ผู้ป่วยขาดออกชิเจนเสียชีวิต
ผู้ป่วยที่ใส่กระดูกขาเทียม หลังให้การรักษาเสร็จเเพทย์สั่งให้ผู้ป่วยกระดิกนิ้วเท้า แต่ผู้ป่วยไม่สามารถทำได้ หมอจึงทดสอบโดย Planter reflex นิ้วเท้ามีการเคลื่อนไหว การรักษาประสบความสำเร็จ
:star:การคัดแยกก่อน/ ขณะอยู่ในจุดรักษาพยาบาล (Secondary Triage) ใช้หลัก Triage sort จะทำในบริเวณที่ปลอดภัย (Cool zone)
ใช้ Triage revised trauma score (TRTS) มาช่วยในการจัดกลุ่มประเภทผู้ป่วย
respiratory rate
Glasgow coma scale
systolic blood pressure
คะแนนเต็ม 12 คะเเนน แบ่งเป็น3 กลุ่ม
คะเเนน 1-10 จัดเป็น T1(สีเเดง)
คะเเนน11 จัดเป็นT2 (สีเหลือง)
คะแนน12 จัดเป็นT3 (สีเขียว)
1.2 การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจานวนไม่มาก (Prehospital Triage)
หลักการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุนอกโรงพยาบาลจะใช้หลัก Scoop and ran
ผู้ป่วยมักมีแค่คนเดียว และการรักษาจะใช้หลักการ Stay and play เช่นผู้ป่วยท้อง
แบ่งตามอาการบาดเจ็บเป็น 4 ประเภท
ประเภทสีเหลือง Mind - Head injury COMA score 12-15, เป็นลม,Burn 1st. degree หรือ < 40%,ผื่นคัน ลมพิษ
ประเภทสีเขียว ผู้ป่วยนัด Follow Up เจ็บป่วยเรื้อรังและไม่มีอาการเฉียบพลันแทรก
ประเภทสีแดง การรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันที
Cardiac arrest,Head injury COMA score < 8, BURN บริเวณใบหน้าและลาคอ,Asthma
ประเภทสีดำ เป็นกลุ่มที่ผู้ป่วยเสียชีวิต
การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรศัพท์ (Phone Triage)
การคัดแยกที่โรงพยาบาลในห้องฉุกเฉิน (Emergency Department Triage)
จากการดูหนัง ทีมการเเพทย์ได้มีการแบ่งหน้าที่ และเมื่อผู้ป่วยมาถึง ณ ห้องฉุกเฉินก็จะมีการคัดแยกผู้ป่วยทุกคนทำตามหน้าที่ที่เเบ่งกันไว้แต่ละแผนก Burn, ระบบประสาท ,กระดูก
การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการดูแลผู้ป่วยนอก ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน
การดำเนินการตอบสนอง (Response) การส่งทีมเเพทย์ฉุกเฉินที่อยู่ใกล้ มีศักยภาพ
การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on Transit)
การรายงานเหตุการณ์/ การแจ้งของความช่วยหลือ (Reporting) มีหน้าที่สำคัญ 2อย่าง
คัดแยกระดับความรุนแรงของเหตุที่แจ้ง (Priority dispatch) ตามสี
การให้คำแนะนาในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นทางโทรศัพท์ Pre-arrival instruction
การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม (Transfer to Definitive care)
ตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บDetection
การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care) ประกอบด้วย 2 ส่วน
4.1 ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up) :star: ประเมินสถานการณ์คำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู้ป่วยและผู้ร่วมงาน, ประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ ตำแหน่ง กลไก
4.2 การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
Breathing ประเมินลักษณะการหายใจ
Circulation การไหลเวียนเลือด
Airway and C-spine
การทำ Manual in –line (จับศีรษะผู้ป่วยให้อยู่ในแนวเดียวกับกระดูกสันหลัง)
ทางเดินหายใจไม่เปิดโล่ง จัดท่าHead Tilt, Chin Lift, ถ้าผู้ป่วยสงสัยเรื่อง C-spine ทำเฉพาะท่า Jaw Thrust
Disability ระดับความรู้สึกตัว
Exposure and Disability บาดแผลตามร่างกาย และกระดูกแขนขา
กรณีที่ผู้ป่วยตกค้างอยู่ที่เกิดเหตุ ทีมเเพทย์จึงลงไปช่วยกันค้นหาจนพบ ขั้นเเรกเมื่อพบผู้ป่วย มีการประเมินความู้สึกตัว เคลื่อนย้ายผู้ป่วยมาที่ปลอดภัย ช่วยทางเดินหายใจ ประเมินอาการแล้วพบมีเลือดออกในเยื่อหุ้มสมองจึงทำการเจาะระบายบางส่วน ก่อนเคลื่อนย้ายไปรพ.
:star:การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ open pneumothorax : :!?: ปิดแผลด้วยแผ่นพลาสติปลอดเชื้อ แล้วปิดขอบ 3 ด้าน (Three side Dress)
:star:การดูแลผู้ป่วยที่มีการแพ้ชนิดรุนแรง(anaphylaxis) :!?: ฉีดepinephrine (1:1000) 0.01 มล./กก. IM
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
ห่วงโซ่ของการรอดชีวิต
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเกิดนอกโรงพยาบาล (Out-of-hospital cardiac arrest: OHCA)
ภาวะหัวใจหยุดเต้นที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล (In-Hospital cardiac arrest: IHCA)
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic life support; BLS)
เรียกขอความช่วยเหลือจาก EMS ทันที
ประเมินการหายใจและชีพจร (Check for breathing and check pulse)
ประเมินผู้ป่วย
การกดหน้าอก (C: Chest compressions)
กดหน้าอกให้มีความลึกอย่างน้อย 2 นิ้ว อัตราความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที ปล่อยให้มีการขยายของทรวงอกกลับคืนจนสุด
ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ (Verify scene safety)
การเปิดทางเดินหายใจ (“A”managing the Airway)
สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นในทางเดินหายใจ (Foreign body airway obstruction (choking)
การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น :star:
การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นโดยสมบูรณ์ :explode: อาการพบได้ผู้ป่วยเองมือกุมที่บริเวณคอ พูดไม่มีเสียง อาจเสียชีวิตเฉียบพลันได้
การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกันบางส่วน :explode: อาการสามารถหายใจได้ ไอเเรงๆอาจได้ยินเสียงหายใจหวีด
:star:สรุปการช่วยเหลือ
การรัดกระตุกหน้าท้อง abdominal thrusts (Heimlich maneuver) ในผู้ใหญ่และในเด็กโต
ตบหลัง (back blows 5ครั้งและกดหน้าอก (chest thrusts) 5ครั้ง ในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การรัดกระตุกบริเวณหน้าอก (chest thrusts ในคนตั้งครรภ์ หรือคนอ้วนมาก)
นวดหัวใจหรือ CPR ทันทีกรณืหมดสติ
ผู้ป่วยโดนไฟไหม้ แนะนำให้สารละลาย Ringer Lactate
หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
แบ่งเป็น 3ระยะ :explode:
ระยะก่อนเกิดภัย (pre-impact phase) มีการเตรียมความพร้อม บุคลากร สถานที่ และยาต่างๆ
ระยะเกิดภัย(impact phase) การช่วยเหลือเบื้องต้น
ระยะหลังเกิดภัย (post-impact phase)การฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย ด้านร่างกายจิตใจ
จากการดูหนังจะเห็นได้ชัดว่า เมื่อมีสายโทรเข้ามายังห้องฉุกเฉิน บุคลากรทุกคนก็จะมีการเตรียมความพร้อมอย่างรวดเร็วร่วมถึงอุปกรณ์และยา ในการช่วยเหลือผู้ป่วย ผู้ป่วยมาถึงรพ.ก็ได้รับการช่วยเหลือต่อจากการให้การรักษาเบื้องต้นจากที่เกิดเหตุต่อ จนทำให้ผู้ป่วยปลอดภัยในที่สุด
นางสาวปิยะมาศ อนุรักษ์ เลขที่64 รหัสนักศึกษา602601065