Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมุ่ และการบรรเทาสาธารณภัย…
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมุ่ และการบรรเทาสาธารณภัย
1.การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสำคัญของการให้การพยาบาลฉุกเฉิน
สามารักษาชีวิตของผู้ป่วยได้
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีอาการหนักมากหรือหนักกว่าเดิม
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย
บทบาทของพยาบาลชุมชนเกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
1.ด้านการรักษาพยาบาล
ต้องประเมิณและจำแนกประเภทผุ้ป่วยเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้
2.ด้านการป้องกัน
ต้องจัดระบบ วางแผน และเตรียมอุปกรร์ต่างๆให้พร้อมสามารถให้บริการได้รวดเร็วเหมาะสม
3.ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต
ต้องทำการเคลื่อนย้ายและส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย และใหคำแนะนำก่อนการจำหน่ายพร้อมการการวางแผนเยี่ยมบ้าน
3.การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงรพ.
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยนอก
1.การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Detection)
2.การรายงานเหตุการณ์ (Reporting)
คัดแยกระดับความรุนแรงของเหตุที่แจ้ง
การให้คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นทางโทรศัพท์
3.การดำเนินการตอบสนอง
4.การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
4.1 ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up) ประเมินเหตุการณ์โดยรอบ โดยคำนึงถึงความปลอดภยของตนเองและบุคคลอื่นๆ
4.2 การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment) ใช้เวลาที่จุดเกิดเหตุไม่เกิน 10 นาที และนำส่งรพ.ที่เหมาะสม
Airway and C-spine
จัดศรีษะผู้ป่วยให้อยู่ในแนวเดียวกับกระดูกสันหลัง
จัดท่า Head tilt ถ้าส่งสัย C-spine ทำเฉพาะท่า Jaw Thrust
Breathing
ประเมินการหายใจ
Circulation
การไหลเวียน
Disability
ระดับความรู้สึกตัว
Exposure and Disability
บาดแผลตามร่างกาย และกระดูกแขนขา
หลัก MIST
Mechanism of injury กลไกการบาดเจ็ที่เกิดขึ้น
Injury มีการบาดเจ็บบริเวณใดบ้าง
Sign/Symptom มีอาการอารแสดงอย่างไร
Treatment มีการให้การรักษาเบื้องต้นที่จุดเกิดเหตุอย่างไร
5.การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on transit)
6.การนำส่งรพ.ที่เหมาะสม (Transfer to Definitive care)
การดูแลผู้ป่วยที่มีการแพ้ชนิดรุนแรง
อาการที่สงสัยว่าเป็น anaphylaxis โดยประเมินอากรเบื้องต้นในเรื่อง airway , breathing , circulation โดยฉีด
epinephrine (1:1000) IMหน้าขา
4.การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น CPR
1.Basic life support : BLS
2.Adult Cardiac , Arrest Algorithm , PEA
3.Adult Rapid Post Cardiac Arrest Care Algorithm
Mechanism of obstruction
1.การอุดกั้นแบบสมบูรณ์แบบ (complete obstruction) อาการ ได้แก่ ผู้ป่วยอาจจะเอามือกุมที่บริเวณคอ พูดไม่มีเสียง หายใจลำบาก
จากการชมวิดีโอการอุดกั้นแบบสมบูรณ์จะต้องสังเกตอาการเมื่อเห็นว่ามีอาการดังกล่าว จะต้องรีบทำ Heimlich manever ระหว่างการทำควรสังเกตด้วยว่ามีสิ่งแปลกปลอมออกมาหรือยัง ถ้าออกมาแล้วหลังจากนั้นควรไปรพ.เพื่อไปตรวจ
2.การอุดกั้นบางส่วน (partial obstruction) อาการสามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยก๊าซ ไอแรงๆได้ อาจได้ยินเสียงหวีดระหว่างการไอ
จากการชมวิดีโอการอุดกั้นบางส่วน ถ้าไม่มีใครอยู่บริเวณแถวนั้นสามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยการชนขอบโต๊ะ แต่ต้องระมัดระวังให้ดี
เด็กเล็ก (ไม่เกิน 1 ปี)
จับคว่ำตบหลัง 5 ครั้ง สลับกับจับหงายแล้วกดหน้าอก 5 ครั้ง
ถ้าเป่าลมเข้าปอดยังไม่ได้ให้จับคว่ำตบหลัง 5 ครั้ง สลับกับจับนอนหงายแล้วกดหน้าอก 5 ครั้ง
การทำ back blows เป็นการทำให้เกิดการไอ
การทำ chest thrusts เป็นการกระตุ้นให้สิ่งแปลกปลอมออกมา
ไม่แนะนำให้ทำ abdominal thrusts เพราะอาจทำให้ช่องท้องแตกได้
เด็ก 1 ปีขึ้นไป
รัดกระตุกที่ท้องเหนือสะดือใต้ลิ้นปี่ (Heimlich maneuver) หรือรัดกระตุกที่หน้าอก หรือ (chest thrust) ถ้าผู้สำลักอ้วนหรือตั้งครรภ์
ถ้าเป่าลมเข้าปอดยังไ่ได้อีกให้กดกระแทกที่ท้อง (abcominal thrust) 5 ครั้ง
การคิด % ไฟไหม้
แนะนำให้สารละลาย ringer lactate
สูตร
ในปริมาณ 4 ml. x นน.(kg) x % บาดแผลไฟไหม้
ระดับแผลไฟไหม้
First degree burn อยู่ที่ผิวหนังชั้นหนังกำพร้า (epidermis) เท่านั้น โดยบาดแผลจะแดง (Erythema) แต่ไม่มีตุ่มพอง (Blister)
Second degree burn ชั้นหนังกำพร้าตลอดทั้งชั้น (ทั้งชั้นผิวนอกและชั้นในสุด) และหนังแท้ (dermis) มีตุ่มพองใส ถ้าลอกเอาตุ่มพองออก พื้นแผลจะมีสีชมพู ชื้นๆ มีน้ำเหลืองซึม
Third degree burn ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก บาดแผลจะมีลักษณะขาว ซีด เหลือง น้ำตาลไหม้ หรือดำ หนาแข็งเหมือนแผ่นหนัง แห้งและกร้าน อาจเห็นรอยเส้นเลือดอยู่ใต้แผ่นหนานั้น
จากการดูวิดีโอ ผู้ป่วยทีมีแผลไฟไหมอยู่ในระดับ 2และ 3 มีแผลเป็นตุ่มพองน้ำใส พยาบาลรีบให้สารน้ำและแยกห้องเพื่อลดการติดเชื้อของผู้ป่วย และคอยอยู่ข้างๆผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยเสียภาพลักษณ์
6.หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
disaster cycle ลักษณะการเกิดต่อเนือง แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ (pre-impact phase) การเตรียมแผนเพื่อรองรับสถานการณ์
ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase) ช่วยเหลือเบื้องต้น
ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ (post-impact phase) ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
2.การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Triage
คือ กาคัดแยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มหรือประเภทตามลำดับความรุนแรงของการเจ็บป่วย
ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย
ช่วยลดความเครียด
ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจ
ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันและเหมาะสม
ลดค่าใช้จ่าย
การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุแบ่งออกเป็น 3 ช่วง
1.Immediate Deaths
การตายเฉียบพลัน (สีแดง)
อาจเกิดเป็นวินาทีถึงนาที
การตายในช่วงนี้เป็นการตายที่เราสามารถป้องกันได้ แต่ไม่สามารถรักษาได้
2.Early Deaths
(สีเหลือง)
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชม.
ช่วง
Golden hour
สำคัญมากในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย
3.Late Deaths
(สีเขียว)
ระยะในการเสียชีวิตอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
อัตราการตายของผู้ป่วยกลุ่มนี้ขึ้นกับการดูแลรักษาในช่วงแรก
การแบ่งประเภทของการ Triage
การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ (Field Triage)
1.การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก (Disaster Triage)
START (Simple Triage and Rapid Treatment)
ผู้ป่วยเดินได้ (สีเขียว)
Respiratory 30 Perfusion 2 Mental status CAN DO
JumpSTART
ใช้ในเด็กอายุ 1 - 8 ปี
การประเมิณการหายใจน้อยกว่า 15 /min หรือมากกว่า 45 /min
การประเมินความรู้สึกตัวในเด็ก
A = Alert
สีเหลือง
V = Verbal ตอบสนองเสียงเรียก
สีเหลือง
P = Pain ตอบสนองความเจ็บป่วย
สีเหลือง
U = Unresponsive ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น
สีแดง
- การคัดแยกตามหลักของ Major Incident Medical Management and Support (MIMMS
) เป็นการคัดแยกครั้งแรก (Primary Triage) จะทำที่จุดเกิดเหตุโดยการ Triage sieve เพื่อประเมิณว่าควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วยรายใดเป็นรายแรก
การคัดแยกผู้ป่วยกรณีอุบัติภัยหมู่จะแบ่งเป็น 2 ส่วน
Primary triage การคัดแยกในจุดเกิดเหตุ
เดินได้ = สีเขียว
RR <10 , >29 หรือ PR >120 /min = สีแดง
PR <120 = สีเหลือง
Secondary Triage การคัดแยกที่จุดรักาาพยาบาลก่อนการนำส่งรพ.ปลายทาง
ใช้หลัก Triage sort จะทำในบริเวณที่ปลอดภัย (Cool zone)
การประเมิน Triage revised trauma score (TRTS)
GCS
13-15 = 4
9-12 = 3
6-8 = 2
4-5 = 1
3 = 0
SBP
มากกว่า89 = 4
76-89 = 3
50-75 = 2
1-49 =1
0 = 0
RR
10-29 = 4
มากกว่า 29 = 3
6-9 = 2
1-5 = 1
0 = 0
แบ่งจากการประเมินเป็น 3 กลุ่ม
คะแนน 1-10 : สีแดง
คะแนน 11 : สีเหลือง
คะแนน 12 : สีเขียว
การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจำนวนไม่มาก (Prehospital Triage)
แบ่งตามอาการบาดเจ็บเป็น 4 ประเภท
สีแดง
คือ ผู้ป่วยที่ต้องการรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันทีไม่สามรถรอได้
สีเหลือง
คือ ผู้ป่วยประเภทนี้ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ให้การดูแลรักษาอย่างถูกต้องก็อาจทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้
สีเขียว
คือ ผู้ป่วยเดินได้ สามารถรอการักษาได้
สีดำ
คือ ผุ้ป่วยที่เสียชีวิต หรือมีโอกาสรอดน้อยมาก
การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรศัพท์ (Phone Triage)
การคัดแยกที่โรงพยาบาลในห้งฉุกเฉิน (Emergency Department Triage)
ุ5.หลักการเตรียมผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่
ประเภทของภัยพิบัติ แบ่งเป็น 2 วิธีดังนี้
1.แบ่งตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ภัยจากเทคโนโลยี
ภัยพิบัติเกิดจ่กการกระทำของมนุษย์
2.การแบ่งตามสถานการณ์
ภัยพิบัติภาวะปกติ
ภัยพิบัติภาวะฉึกเฉิน
ภัยพิบัติภาวะสงคราม
วงจรการเกิดภัยพิบัติ
ก่อนเกิดภัย จะต้องมีการป้องกันและบรรเทา และเตรียมความพร้อม
ระหว่างเกิดภัย มีการจัดการในภาวะฉุกเฉิน
ภายหลังการเกิดภัย มีการฟื้นฟูบูรณะ โดยเฉพาะด้านจิตใจ
จากการดูวิดีโอ เคสที่มาร์โคขาหักและไม่สามารถต่อกระดูกได้ แพทย์จงสอบถามญาติเพื่อให้ญาติตัดสินใตว่าจะตัดขาหรือใส่กระดูกเทียม แต่ว่าประเด็นนี้ทำให้เกิดการโต้เถียงกันระหว่างพ่อแม่ของมาร์โคและภรรยาของเขานั้นเอง ซึ่งพ่อแม่จะตัดขา แต่ภรรยาจะให้ใส่ขาเทียม ซึ่งระหว่างการตกลงจะเห็นได้ว่าแพทย์สังเกตเห็นปลายนิ้วเท้าของมาร์โคเริ่มเขียวคล้ำเพราะเลือดไม่ไปเลี้ยง จึงต้องได้รับการตัดสินใจอย่างทันที [หากได้รับการรักษาไม่ทันเวลามาร์โคอาจเสียชีวิตได้