Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Severe Preeclampsia :warning: - Coggle Diagram
Severe Preeclampsia :warning:
DATA :pencil2:
ฝากครรภ์ครั้งแรก : 8 ตุลาคม 2562 GA 16 wks. by U/S ที่โรงพยาบาลตำรวจ
EDC (Expected date confinement): 19 มีนาคม 2563
LMP (Last menstruation period): -
Total ANC 9 ครั้ง ที่โรงพยาบาลตำรวจ
ปัญหาระหว่างฝากครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งที่7 GA316 wks. By U/D (22 มกราคม 63)
BP 145/91 วัดใหม่ได้ 127/79
ฝากครรภ์ครั้งที่9 GA376 wks. By U/D (4มีนาคม 63)
ครั้งที่1 143/102
ครั้งที่2 143/101
ครั้งที่3 157/107
ครั้งที่4 150/102
การวินิจฉัยโรคแรกรับ : Term pregnancy c Mild preeclampsia (ครรภ์ครบกำหนดและความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิดไม่รุนแรง)
การวินิจฉัยโรคปัจจุบัน :Severe Preeclampsia c mild meconium (ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิดรุนแรงและน้ำคร่ำมีขี้เทาปนเล็กน้อย)
หญิงไทย อายุ 30 ปี GA 37+6 wks by u/s
ไม่ได้ประกอบอาชีพ
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล (Chief complaint): มาตรวจตามนัดพบว่ามีความดันโลหิตสูง
อาการปัจจุบัน (Present illness): ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 29 ปี ไม่มีโรคประจำตัวเดิม G1P0 GA376 wks. By u/s มาตรวจตามนัดที่ANC พบว่าความดันโลหิตสูง
ครั้งที่1 143/102 mmHg :warning:
ครั้งที่2 143/101 mmHg :warning:
ครั้งที่3 157/107 mmHg :warning:
ครั้งที่4 150/102 mmHg :warning:
ไม่มีเจ็บครรภ์ ไม่มีท้องแข็ง ไม่มีมูกเลือดไหลออกจากช่องคลอด ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีปวดศีรษะ ไม่มีตาพร่ามัว ไม่มีจุกแน่นลิ้นปี่ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีอาการแขนขาอ่อนแรง ขาบวม1+ ไม่มีปัสสาวะเป็นฟอง ไม่มีตกขาวผิดปกติ ไม่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ปัสสาวะปกติไม่มีตะกอน ขับถ่ายปกติ
ห้อง LR
ตรวจครรภ์ Abdomen: ¾ > สะดือ Vertex Head Engagement Occiput Left
วัดฺ BP ได้ 143/103 mmHg
ตรวจ Head to toe
พบ pitting edema + 1
PV FB 25% station -1 MI
ผลตรวจปัสสาวะ
Albumin Tract
sugar Negative
plan set OR for C/S
13.30
เข้าห้องผ่าตัด
14.15 ทารกเพศ ญ นน 2810 Apgar Score 9,9,10 พบ mild maconium
14.40
ขณะอยู่ในห้องผ่าตัด BP 80/40 Drop จึง hold MgSO4 ไว้
15.15
ย้ายไปห้อง RR มีตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้น จึงให้ MgSO4 50 ml/hr
16.00
ย้ายไป PP
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต :
หญิงตั้งครรภ์ปฏิเสธโรคประจำตัว
หญิงตั้งครรภ์ไม่มีประวัติการแพ้ยา แพ้อาหารหรือสารเคมี
LAB (8 ตุลาคม 2562)
Hb11.0
Hct 32.2
VDRL Neg
HIV Neg
HBsAg Neg
MCV 81.2
Hb E screening Positive
Hb typingHb E trait
%HbE 28.6
สามี16/10/62
MCV 81.0
Hb typing Hb E trait
%HbE 29.0
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ป้าของผู้ป่วยเป็นเบาหวาน
บิดาของผู้ป่วยเป็นมะเร็งกระเพราะปัสสาวะ
Timeline การให้ MgSo4 :star:
4/3/63
13.30น.
0% MgSo4 4gm(50%MgSo4 4amp+5%D/W 32ml) IV Push rateslowly push in 20 mins start then 50% MgSo4 20gm+ 5%D/W 460ml IV drip via infusion pump rate 50ml/hr
LAB : Magnesium
18.21
↑4.64
22.17
↑5.76
15.30น.
maintenance dose 50% MgSo4 20gm+ 5%D/W 460ml IV drip via infusion pump rate 50ml/hr
5/3/63
6.53 น.
ลดrate mgso4 drip เหลือ 38 ml/hr
7.00น.
50% MgSo4 20gm+ 5%D/W 460ml IV drip via infusion pump rate 38ml/hr unit หลังคลอด24hr(15.00น.)
LAB : Magnesium
01.32
↑6.20
06.23
↑6.57
วัคซีนบาดทะยัก 2 เข็ม
30 ตุลาคม 2562
27 พฤศจิกายน 2562
น้ำหนัก 53 kg. สูง 158 cm. BMI 21.33 น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ 14 kg.
พยาธิสภาพภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertension in Pregnancy) :!!:
ความหมาย
หญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบความดันโลหิตในขณะหัวใจบีบตัว (SBP) มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 140 mmHg และ/หรือตรวจพบค่าความดันโลหิตในขณะหัวใจคลายตัว ( DBP) มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg
ความดันโลหิตของมารดา
GA 376 wks. 150/102 mmHg :check:
ประเภท
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (pregnancy induced hypertension)
มีความดันโลหิตสูงครั้งแรกในระยะตั้งครรภ์ (ก่อนตั้งครรภ์ความดันโลหิตปกติ)
เกิดในช่วงหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ไปแล้ว :check:
ระดับความดันโลหิตลดลงสู่ภาวะปกติภายใน 12 สัปดาห์ หลังคลอด
แบ่งออกเป็น
GESTATIONAL HYPERTENTION
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะหรือ Trace หรือ protein urea < 300 mg
PREECLAMPSIA
มีความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ (protein urea)
Mild preeclampsia
BP ≥ 140/90 mmHg
protein urea ≥ 300 mg./ปัสสาวะ 24 hr.
หรือ dipstick 1+
Severe preeclampsia
BP ≥ 160/110 mmHg
มารดามาตรวจตามนัด GA 376 wks. By u/s พบว่าความดันโลหิตสูง 150/102 mmHg. :check:
protein urea ≥ 2 g./ปัสสาวะ 24 hr. หรือ dipstick 2+
ผล Urine alb trace
มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือร่วมกันทั้งหมด เช่น ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ จุกแน่นลิ้นปี่ ปัสสาวะออกน้อย (< 25 mL./hr.)
Serum creatinin > 1.2 g/dL
UPCR > 0.3 (สูง)
UPCR = 0.54 (สูง) :check:
เอนไซม์ของตับเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ 2 เท่า (ALT, AST)
มีภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
Eclampsia
ชัก หรือ เกร็ง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
เกิดได้ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หรือ หลังคลอด
ความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรัง (chronic hypertension)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดก่อนตั้งครรภ์หรือเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์แต่อายุครรภ์น้อยกว่า 20 สัปดาห์
ภาวะความดันโลหิตสูงดำเนินต่อไปเกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
มักนำไปสู่ Superimpose preeclampsia (มีความดันโลหิต สูงชนิดเรื้อรังมาก่อนการตั้งครรภ์และมีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อตั้งครรภ์ มี protein urea ≥ 300 mg./ ปัสสาวะ 24 hr. หรือ dipstick 1+ )
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่ two-stage disorder เป็นทฤษฏีที่น่าเชื่อถือที่สุด
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical stage)
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ระบบการแข็งตัวของเลือด
การแข็งตัวของเลือดจากเซลล์บุผนังหลอดเลือดเสื่อมลง
เกร็ดเลือดและสารที่ช่วยในการแข็งเลือดตํ่ามาก ทําให้เกิดภาวะ DIC
สมอง
เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ กระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว และชักในที่สุด
ตับ
เลือดจะไปเลี้ยงตับได้ไม่ดี และภาวะ เกร็ดเลือดตํ่า ( < 10,000/cm3) ทําให้เกิด hemorrhagic necrosis
ไต
เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง ประสิทธิภาพการกรองของไตลดลง โปรตีนรั่วออกมาในปัสสาวะ
มารดามีโปรตีนรั่วออกมาในปัสสาวะ :check:
UPCR = 0.54 :check:
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นไม่มาก เนื่องจากมีนํ้ารั่วออกนอกเส้นเลือด (capillary leak)
เลือดไหลเวียนเข้าสู่รกลดลง เกิดเนื้อตายของรก ทําให้ทารกเจริญเติบโตช้า หรือเสียชีวิตในครรภ์
เลือดไปไหลเวียนที่รกได้ไม่ดี ทำให้ทารกเกิด mild meconium :check:
HELLP syndrome
ภาวะ severe preeclampsia ที่มีกลุ่มอาการบางอย่างเกิดขึ้นร่วมด้วย
อาการสําคัญ
เอนไซม์ตับสูงขึ้นมาก (elevated liver enzyme)
เกร็ดเลือดลดตํ่าลง (low platelet)
เม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
อาการเตือน
คลื่นไส้ อาเจียน จุกแน่นลิ้นปี่ กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา
เกร็ดเลือด < 100,000 mm3
เกร็ดเลือด 352,000 mm3 :green_cross:
SGOT > 36 U/L (สูง)
AST > 72 IU/L
AST(SGOT) 14 U/L :green_cross:
LDH > 600 IU/L
LDH 233 IU/L :green_cross:
Bilirubin > 20 micro mol/L
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
IUGR
ทารกขาด O2 ทั้งในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด
placenta abruption
คลอดก่อนกำหนดและเสี่ยงที่จะได้รับการกู้ชีพ
ระยะคลอดพบ mild meconium :check:
การรักษา
MILD PREECLAMPSIA
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ultrasound เพื่อดูขนาดทารก ปริมาณนํ้าครํ่า
ประคับประคองจนกว่าจะตั้งครรภ์ครบกำหนด ยกเว้น severe preeclampsia หรือ fetal distress
SEVERE PREECLAMPSIA
ป้องกันภาวะชัก
ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว ยกเว้นในรายที่อายุครรภ์น้อยกว่า34 สัปดาห์ แพทย์อาจให้ corticosteroid หลังจากนั้นจึงให้คลอดได้
ควบคุมความสมดุลของน้ำและ electrolyte ประเมินการทํางานของไต ตับ ความข้นของเลือดและเกร็ดเลือด
Hb = 10.4 g/dL(ต่ำ), Hct = 32.8%(ต่ำ) :check:
เกร็ดเลือด 257,000 mm3
BUN = 10.2 mg/dL, Cr = 0.62 mg/dL : :check:
ให้ยาป้องกันชัก MgSO4 (Magnesium sulfate)
การให้ MgSO4
การให้ยาครั้งแรก (Loading dose)
ใช้ 10 % MgSO4 ขนาด 5 กรัม ฉีดเข้าหลอดเลือดดําช้าๆ นาน 5-10 นาที
10% MgSO4 4 gm (50% MgSO4 4 amp. + 5%D/W 32 ml) i.v. push rate slowly push in 20 mins stat :check:
การให้ยาเพื่อควบคุมการชักต่อไป (Maintenance Dose)
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ใช้ 50 % MgSO4 ขนาด 10 กรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพกซ้าย/ขวาบริเวณด้านนอก ทันทีข้างละ 5 กรัมทุก 4 ชั่วโมง จนครบ 24 ชม.ซึ่ง อาจผสม 2% xylocaine 1 ml. เพื่อลดอาการปวด
การหยดเข้าทางหลอดเลือด ใช้ MgSO4 ผสมหยดเข้า ทางหลอดเลือดในอัตรา 1-2 กรัมต่อชั่วโมง
50% MgSO4 20 gm + 5%D/W 460 ml i.v drip via infusion pump rate 50 ml/hr :check:
อาการเพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
:red_flag: ถ้าพบว่า หญิงตั้งครรภ์หยุดหายใจ ให้ฉีด 10% Calcium gluconate 10 มิลลิลิตรเข้าหลอดเลือดเลือดดําโดยฉีดช้าๆ ประมาณ 3 – 5 นาที
:red_flag: เจาะ Mg level ในเลือดทุก 4 ชม.
ระดับ MgSO4
MgSO4 ไม่ควรเกิน 4-7 mEq/L (8.4 g/dl)
4 more items...
MgSO4 > 15 mEq/L ทําให้หัวใจหยุดเต้น
MgSO4 > 12 mEq/L ทําให้หยุดหายใจ
:red_flag: record urine ต้องออกไม่น้อยกว่า 25 ml/hr
:red_flag: diastolic > 90 mmHg
:red_flag: อัตราการหายใจ > 14 ครั้ง/นาที
:red_flag: Deep tendon reflex ไม่น้อยกว่า 1+ ทุก 4 ชม.
:red_flag: อาการข้างเคียงของ MgSO4
กดการหายใจ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
คลื่นไส้/อาเจียน
ผิวหนังร้อนวูบวาบ
เหงื่อออก
ECLAMPSIA
แก้ไขภาวะชัก
การพิจารณาการคลอด
< 24 weeks = terminate
GA 24+1 – 33+1 weeks = corticosteroid 48 hr. จึงให้คลอด
หลังคลอดให้ยากันชักต่อจนครบ 24 ชม.
GA ≥ 34 weeks = MgSO4 จนควบคุมความดันโลหิตได้ให้คลอดได้
มารดา GA 376 wks. Set OR for C/S :check:
การประเมินหลังคลอดโดยใช้หลัก 13B :!:
Background
Body condition
5 มีนาคม 2563
มารดาไม่มีภาวะซีด เยื่อบุตาสีชมพู ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด มีอาการอ่อนเพลียเล็กน้อย สามารถไปเข้าห้องน้ำเองได้ รับประทานอาหารได้ปกติ ไม่มีภาวะขาดน้ำ พูดคุยได้ไม่สบสน โต้ตอบดี
6 มีนาคม 2563
มารดามีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส ไม่มีภาวะซีด เยื่อบุดาสีชมพู สามารถลุกขึ้นจากเตียงได้ การเคลื่อนไหวปกติ มีการนอนหลับพักผ่อนเพียงพอ ไม่มีอาการอ่อนเพลีย รับประทานอาหารได้ปกติและมีมีภาวะขาดน้ำ
4 มีนาคม 2563
สีหน้าอ่อนเพลีย รู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มารดาไม่มีภาวะซีด เยื่อบุตาสีชมพู ริมฝีปากไม่แห้ง ยังไม่สามารถลุกขึ้นจากเตียงได้เนื่องจากปวดแผลผ่าตัด ไม่มีการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณขา
Belief
มารดานับถือศาสนาพุทธ และไม่มีความเชื่อเรื่องการอยู่ไฟ ไม่ได้รับประทานอาหารเสริมหลังคลอด ผู้ป่วยมีความเชื่อว่าการรับประทานหัวปลีจะช่วยให้น้ำนมไหลเยอะขึ้น
body temperature and blood pressure
4 มีนาคม 2563
Temp. = 36.6 องศา,BP = 143/104 mmHg,PR = 82 bpm,RR = 20 bpm
5 มีนาคม 2563
Temp. = 36.5 องศา,BP = 148/95 mmHg,PR = 78 bpm,RR = 18 bpm
6 มีนาคม 2563
Temp. = 36.4 องศา,BP = 142/99 mmHg,PR = 90 bpm,RR = 18 bpm
Breast and lactation
5 มีนาคม 2563
คัดตึงเต้านมเล็กน้อย รู้สึกเจ็บเล็กน้อยขณะลูกดูดนม ประเมินการไหลของน้ำนมได้ 2 คะแนน LACTH Score = 8
6 มีนาคม 2563
4 มีนาคม 2563
เต้านม 2 ข้างสมมาตรกันดี คลำไม่พบก้อน ลานนมนิ่มปกติ หัวนมปกติ 2 ข้าง ไม่มีแตก ไม่มีการคัดตึงเต้านม น้ำนมยังไม่ไหล LACTH Score = 7
Belly and fundus
4 มีนาคม 2563
หน้าท้องโตเล็กน้อย ไม่หย่อน มดลูกหดรัดตัวดี มีแผลผ่าตัดที่หน้าท้องไม่มี discharge ซึม ปวดบริเวณแผลผ่าตัด pain score 1 คะแนน พบ Striae gavidarum สีชมพู Linea liga ชัดเจน
5 มีนาคม 2563
ปวดบริเวณแผลผ่าตัด pain score 2 คะแนน
6 มีนาคม 2563
ปวดบริเวณแผลผ่าตัด pain score 1 คะแนน
Bladder
4 มีนาคม 2563
ปัสสาวะทาง foley catheter ลักษณะปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน
5 มีนาคม 2563
มารดาปัสสาวะเองจำนวน 2 ครั้ง ลักษณะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน
ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
6 มีนาคม 2563
มารดาปัสสาวะเองจำนวน 3-4 ครั้ง ลักษณะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน
ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
Bleeding and lochia
4 มีนาคม 2563
น้ำคาวปลาสีแดงสด (lochia rubra) เปลี่ยนผ้าอนามัย 3 แผ่น น้ำคาวปลาประมาณ 5/5 ของผ้าอนามัย มีเลือดออกช่องคลอดประมาณ 150 cc
5 มีนาคม 2563
น้ำคาวปลาสีแดงสด (lochia rubra) เปลี่ยนผ้าอนามัย 2 แผ่น น้ำคาวปลาประมาณ 5/5 ของผ้าอนามัย มีเลือดออกช่องคลอดประมาณ 100 cc
6 มีนาคม 2563
น้ำคาวปลาสีแดงจาง (lochia rubra) เปลี่ยนผ้าอนามัย 2 แผ่น น้ำคาวปลาประมาณ 4/5 ของผ้าอนามัย มีเลือดออกช่องคลอดประมาณ 80 cc
Bottom
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดคลอด
ไม่พบริดสีดวงทวาร
Bowel movement
4 มีนาคม 2563
มารดายังไม่ถ่ายอุจจาระ ไม่มีท้องอืด ไม่มีผายลม
5 มีนาคม 2563
มารดายังไม่ถ่ายอุจจาระ ไม่มีท้องอืด ไม่มีผายลม
6 มีนาคม 2563
มารดาถ่ายอุจจาระ 1 ครั้ง มีผายลมบ้าง ไม่มีท้องอืด
Blues
4 มีนาคม 2563
มารดายังไม่ได้เลี้ยงบุตร บุตรอยู่ที่ห้อง Nursery เนื่องจากมาดายังอ่อนเพลีย ไม่มีอาการหงุดหงิด
5 มีนาคม 2563
มารดามีความสนใจบุตรดี คอยให้นมบุตรอยู่เสมอ ไม่มีอารมณ์หงุดหงิด
6 มีนาคม 2563
มารดามีความสนใจบุตรดี ไม่มีอารมณ์หงุดหงิด คอยให้นมบุตรเสมอ ไม่มีความวิตกกังวลเรื่องการดูแลบุตร
Bonding
4 มีนาคม 2563
มารดายังไม่ได้เลี้ยงบุตร บุตรอยู่ที่ห้อง Nursery เนื่องจากมาดายังอ่อนเพลีย มีสามีคอยมาเยี่ยม
5 มีนาคม 2563
มารดาอุ้มสัมผัสทารก คอยมองและโอบกอดให้นมอยู่เสมอ มีการส่งเสียงพูดคุยกับบุตร มีสัมธภาพที่ดีกับบุตรและคนในครอบครัว มีสามีมาเยี่ยม
6 มีนาคม 2563
Baby
4 มีนาคม 2563
ทารกเพศหญิง คลอดโดยผ่าตัดคลอด (Cesarean section) วันที่ 4 มีนาคม 2563 เวลา 14.15 น. น้ำหนักแรกคลอด 2810 กรัม Apgar score 9,10,10 ศีรษะสมมาตร ใบหน้าสมส่วน กระหม่อนหน้ายังไม่ปิด ตาปกติ เปลือกตาไม่บวม หายใจ room air ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย ริมฝีปากสีชมพูไม่แห้ง ไม่มี cleft lip cleft palate ดื่มนมแบบ cup feed รับนมได้ดี แขนสมมาตรกันดี อวัยวะเพศปกติ อุจจาระสีเขียวขี้ม้า (maconium) วันละ 3 ครั้ง มีรูเปิดทวารหนัก
5 มีนาคม 2563
ทารกเพศหญิง อายุ 2 วัน สีผิวขาวเหลือง หายใจ room air ไม่มีหายใจหอบเหนื่อยผิวหนังแดงดี ร้องเมื่อหิว ดูดนมแม่ทุก 2-3 ชั่วโมง สะดือแห้งและยังไม่หลุด ปัสสาวะสีเหลืองใส วันละ 4 ครั้ง อุจจาระสีเขียวขี้ม้า (maconium) วันละ 3 ครั้ง
6 มีนาคม 2563
ทารกเพศหญิง อายุ 3 วัน ทารกไม่มีผื่นบนใบหน้า ผิวหนังแดงดี หายใจroom air ไม่มีหอบเหนื่อย มีร้องกวนเมื่อหิว ดูดนมแม่ทุก 2-3 ชั่วโมง สะดือแห้งและยังไม่หลุด ปัสสาวะสีเหลืองใส วันละ 4 ครั้ง อุจจาระสีเขียวขี้ม้า (maconium) วันละ 4 ครั้ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :star:
Day 0 วันที่ 4 มีนาคม 2563
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูก
อาจเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มเนื่องจากร่างกายอ่อนเพลียหลังคลอด
Day 1 วันที่ 5 มีนาคม 2563
เสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูกและแผลผ่าตัด
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
อาจเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มเนื่องจากร่างกายอ่อนเพลียหลังคลอด
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูก
มารดาหลังคลอดมีอาการท้องผูก
Day 2 วันที่ 6 มีนาคม 2563
เสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูกและแผลผ่าตัด
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
อาจเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มเนื่องจากร่างกายอ่อนเพลียหลังคลอด
มารดาหลังคลอดมีอาการท้องผูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ส่งเสริมความรู้ให้มารดาหลังคลอดสามารถดูแลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพก่อนกลับบ้าน
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูก