Coggle requires JavaScript to display documents.
**1.Amniocentesis**
มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอดโอกาสแท้ง ทารกตาย หรือเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดพบประมาณ 0.5%
การติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรงเกิดขึ้นน้อยกว่า 1 รายจากการเจาะ 1,000 ราย
มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์ ทำได้โดยการฉีด Anti-D immunoglobulin หลังการตรวจ
**พักหลังจากการเจาะ1 วัน**ควรงดการออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก ออกกำลังกาย และงดการร่วมเพศ อีก 4-5 วัน ไม่ควรเดินทางไกลภายใน 7วันหลังการเจาะน้ำคร่ำ
**2. Amniotic fluid analysis**
เพื่อดู lung maturity เนื่องจากสาร lecithin เป็น Phospholipids ทำหน้าที่เป็น surfactant คลุมบริเวณ ส่วน sphingomyelin เป็นไขมันในน้ำคร่ำ
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 สัปดาห์ หลังจากนั้นsphingomyelin จะเริ่มคงที่ ขณะที่ lecithin จะเพิ่มขึ้น surfactant ทำหน้าที่ป้องกันการเกิด collapse ของ alveoli ในขณะที่มีการหายใจออก
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์โดยใช้หลักการของความสามารถใน**การคงสภาพของฟองอากาศ**ของสารลดแรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่น้ำคร่ำจำนวน 1 cc , 0.75 cc ,0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc ตามลำดับแล้วเติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทำให้ ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอดแล้วเติม Ethanol 95 % ทุกหลอดเขย่านาน 15 วินาที ทิ้งไว้นาน 15 นาที
**3. Alpha fetoprotein (AFP)**
**AFP เป็นการตรวจเลือดมารดา** ดูค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรกใช้ค่านี้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรกและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับรก(ระยะเวลาในการตรวจ 16-18 wks.)
-ค่าปกติ AFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
-ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้งครรภ์แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ
-ค่า AFP ต่ำ สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
เป็นภาวะผิดปกติทางพันธุกรรมที่พบในเพศหญิงเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม X โดยผู้ป่วยภาวะนี้จะมีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว
มีรูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออกทั้งยังส่งผลให้ผู้ป่วยมีรังไข่ที่ไม่เจริญไม่มีประจำเดือน และอาจเกิดภาวะมีบุตรยาก
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง (spina bifida) ซึ่งมีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่
ความผิดปกติใน 2 - 3 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อนทำให้ไม่สามารถเชื่อมตัวที่บริเวณหลังส่วนเอว ฉะนั้นไขสันหลังจึงเกิดได้ไม่สมบูรณ์และเป็นแผ่นแบนอยู่ที่ผิวของร่างกายล้อมรอบด้วยผิวหนัง
**4.Fetoscopy**
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์หรือเรียกว่าlaparoamnioscope สอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์เพื่อดูความผิดปกติของทารก
การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาดขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
**ขนาดของถุงการตั้งครรภ์ (Gestational Sac : GS)**
**ความยาวของทารก (Crown-rump lerght : CRL)**
**Biparietal diameter : BPD**
** ความยาวของกระดูกต้นขา (Femur length : FL)**
**เส้นรอบท้อง (Abdominal circumference : Ac)**
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของ4 ตัวแปร **(การหายใจ, การเคลื่อนไหว, แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ , การเต้นของหัวใจทารก)** ร่วมกับ การวัด**ปริมาณน้ำคร่ำ**อีก 1 ตัวแปร
วิธีที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง คือ **Count to ten คือ การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้**ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน** ในท่านอนตะแคง ถ้านับลูกดิ้นไม่ถึง 10 ครั้ง แปลผลว่า ผิดปกติ
- **“daily fetal movement record (DFMR)” คือ **การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง**** - ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้งต่อชั่วโมง แปลผลว่าผิดปกติ**ถ้านับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อวัน** รวมจำนวนครั้งที่ดิ้นใน 12 ชั่วโมงต่อวัน ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้ง ถือว่าผิดปกติ ทารกมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตในครรภ์
หมายถึง ทารกอยู่ในภาวะอันตราย มีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิต ดังนั้นถ้ามารดาพบว่า ทารกดิ้นน้อยลง หรือหยุดดิ้น ให้มาพบแพทย์ทันทีและควรมีการบันทึกการดิ้นของทารกในแต่ละวัน
เป็นเครื่องมือทาง Electronic ที่ได้นำมาใช้เพื่อตรวจดูสุขภาพทารกใน
- Tocodynamometer หรือ จะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
- ultrasonic transducer สำหรับฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารก
อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
ปกติทารกจะสามารถปรับตัวได้แสดงออกโดยมีการเปลี่ยนแปลง FHR pattern ไม่เกิด late deceleration **ถ้ามีภาวะ Uteroplacental insufficiency** ทารกอยู่ในภาวะไม่ปลอดภัย FHR pattern เกิด late deceleration ขึ้น
**- Negative** มี UC 3 ครั้งใน10 นาที โดยไม่มี late deceleration
**- Positive** : พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
**- Suspicious** : มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุกครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก หรือมีการลดลงของหรือมีการลดลงของ FHS ในช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูกร่วมกับมดลูกหดรัดตัวถี่มากเกินไป
**- Unsatisfactory** : เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ หรือ UC ไม่ดีพอ
**Negative** : ทารกอยู่ในสภาพปกติ แนะนำนับลูกดิ้นและตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
** Positive** : ทารกอยู่ในสภาพพร่องออกซิเจน ช่วยเหลือโดย Intrauterineresuscitation และหยุด Oxytocin ทันที หลังจากนั้น 15-30 นาทีให้ทำ CST ซ้ำ ถ้าผล Positive อีกครั้งควรสิ้นสุดการตั้งครรภ์