Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ,…
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
• Biochemical Assessment
Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทํา 3 วิธี
.
การตรวจหาค่า L/S ratio
(Lecithin Sphingomyelin Ratio
การตรวจหาค่า L/S ratio เพื่อดู lung maturity เนื่องจากสาร lecithin เป็น Phospholipids ทําหน้าที่เป็น surfactant คลุมบริเวณ alveoli ส่วน sphingomyelin เป็นไขมันในน้ำคร่ำ
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30สัปดาห์ หลังจากนั้น sphingomyelin จะเริ่มคงที่ขณะที Elecithin จะเพิ่มขึ้น surfactant ทําหน้าที่ ป้องกันการเกิด collapse ของ alveoli ในขณะที่มีการหายใจออก ถ้าขาดสาร surfactant นี้จะทําให้เกิด RDS (กลุ่มอาการหายใจลําบาก) ซึ่ง มักจะพบในทารกที่คลอดก่อนกำหนด
ค่าปกติของ L/S rotio
.
26 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S > L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ S จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อย ทําให้ ratio สูงขึ้น เปลี่ยนเป็น 2:1
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มทีÉ โอกาสเกิด RDS
Shake Test
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกใน ครรภ์โดยใช้หลักการของความสามารถในการคง สภาพของฟองอากาศของสารลดแรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
วิธีการทํา
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่นํ้าครํ่าจํานวน 1 cc , 0.75 cc , 0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc ตามลําดับแล้วเติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทําให้ ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอดแล้วเติม Ethanol 95 % ทุกหลอดเขย่านาน 15 วินาทีทิ้งไว้นาน 15 นาท
การแปลผล
.
• ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรกแสดง ว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
• ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผล intermediate ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
• ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่า ได้ผลลบ แสดงว่าการทดสอบปอด ทารกยังเจริญไม่เต็มที่ *ถ้าได้ลบ ควรตรวจหาค่า L/S ratio ต่อไป เพราะ อาจเป็นผลลบลวง false negative แต่ผลบวกลวง พบได้น้อย
จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่ (Amniotic fluid clear, Thin meconium, Thik Meconium)
Alpha fetoprotein (AFP)
เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมา จากรก ใช้ค่านี้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรก และเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับรก (ระยะเวลาในการตรวจ 16-18 wks.)
ค่าปกติ AFP2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้ง ครรภ์ แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube เช่น anencephaly myelomeningocele , Spinabifida, congenital nephrosis, esophageal atresia, Turner’s syndrome หรือทารกตายในครรภ์
ค่า AFP ตํ่า สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
Amniocentesis
คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ทีผิดปกติ เช่น ตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 35 ปีโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
วิธีการเจาะ
• ทําโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้องและผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ มาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• ทําเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
• ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอดโอกาสแท้ง ทารกตาย หรือเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดพบประมาณ 0.5 %
• การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ การติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรงเกิดขึ้นน้อยกว่า 1 รายจากการเจาะ 1,000 ราย
• กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์ ทําได้โดยการฉีด Anti-D immunoglobulin หลังการตรวจ
คําแนะนําหลังการเจาะ
• ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการเหล่านี้
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีนํ้าหรือเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
พักหลังจากการเจาะ1 วัน ควรงดการออกแรง มาก เช่น ยกของหนัก ออกกําลังกาย และงดการร่วมเพศ อีก 4-5 วัน ไม่ควรเดินทางไกลภายใน 7 วันหลังการเจาะนํ้าคร่ำ
บทบาทของพยาบาล
.
• ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
• ดูแลจัดทำ วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจ ของทารก
• จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
• ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอา เข็มออก ประมาณ 1 นาทีและปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
• ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
• วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที 2. Amniotic fluid analysis
Fetoscopy Fetoscopy
คือ การส่องกล้องดูทารกในครรภ์ หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุง นํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อดูความผิดปกติของทารก
ขั้นตอนการทํา
.
• งดนํ้างดอาหารก่อนทํา 6-8 ชั่วโมง
• ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทํา
• ต้องตรวจสอบปริมาณนํ้าครํ่าหลังทํา
• หลังทํางดการทํางานหนัก 1 – 2 สัปดาห์ เนื่องจากอาจมีอาการปวดท้อง
• ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทาง ช่องคลอด ติดเชื้อนํ้าครํ่ารั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่ กับเลือดลูกปนกัน
• ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทํา
Chorionic villous sampling
.
• CVS (Chorionic villous sampling) คือ การดูด เอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติ ของโครโมโซม Chromosome เช่นเดียวกันกับ การตรวจนํ้าครํ่า สามารถบอกความผิดปกติของ โครโมโซม เช่น Down's syndrome ความพิการ แต่กําเนิด และ Anencephaly
• ไม่สามารถตรวจพบภาวะเยื่อหุ้มไขสันหลังปิด ไม่ สนิทที่เรียกว่า Spina Bifida ได้
• ทําช่วง 10-13 wks. ไม่ควรทํา ก่อนอายุครรภ์ 10 สัปดาห์เพราะเพิ่มอัตราการเกิดทารกพิการแบบ limb reduction defect โดยทั่วไปเกิดเมื่อทํา ขณะอายุครรภ์ 7 สัปดาห์
cordocentesis
.
• (Percutaneuos umbilical blood sampling or cordocentesis)
• ทําช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์
• หมายถึง การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสาย สะดือ โดยทั่วไปเจาะจากหลอดเลือดดํา เนื่องจากการเจาะหลอดเลือดแดงจะกระตุ้นให้ เกิดหลอดเลือดหดรัดตัว หัวใจทารกเต้นช้าลง
• Biophysical Assessment
Ultrasound
คือ การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง ผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาด ขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
แนวทางการตรวจ
.
• ดูจํานวนและการมีชีวิตของทารก
• ดูลักษณะและตําแหน่งของรก
• ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
• ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
• ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
• ปริมาณนํ้าครํ่า
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา
.
• ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
• ตรวจดูตําแหน่งที่รกเกาะ
• ตรวจดูภาวะแฝดนํ้า / นํ้าครํ่าน้อย
• ตรวจในรายสงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
• ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
• การตั้งครรภ์ที่มีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
• เพื่อดูความผิดปกติ เช่น ก่อนเนื้องอกที่อุ้ง เชิงกราน
• ตรวจดูตําแหน่งที่เหมาะสมก่อนทํา amniocentesis
• ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ด้านทารก
.
• ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หรือคาด คะเนอายุครรภ์
• เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
• เพื่อดู lie position และส่วนนําของทารกใน ครรภ์
• เพื่อตรวจดูการหายใจของทารกในครรภ์ทารก เจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
• เพื่อตรวจดูจํานวนของทารกในครรภ์
• ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์ (Gestational Sac : GS)
อายุครรภ์5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้ซึ่งจะเห็น ได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ใช้ยืนยันการตั้ง ครรภ์ ใช้ในการหาอายุครรภ์ โดยวัด เส้นผ่าศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ทั้ง 3 แนวคือ กว้าง ยาว สูง
ความยาวของทารก (Crown-rump lerght : CRL)
อายุครรภ์ 7-14 week คือ ความยาวตั้งแต่ ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง ซึ่งมีความแม่นยํามาก คลาดเคลื่อนเพียง 3 - 7 วัน
Biparietal diameter : BPD
เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะ ของทารก เป็นตัววัดที่นิยมมากที่สุด อาศัยจุด สัมพัทธ์ คือ เป็นระดับ BPD ที่กว้างที่สุด การ คํานวณจะแม่นยําสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์ คํานวณอายุครรภ์โดยประมาณ คือ BPD (ซม.) X 4 สัปดาห์
Fetal Biophysical profile (BPP)
คือ การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้ คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของ อวัยวะต่างๆของทารกที่ถูกกระตุ้นและควบคุมด้วย ระบบประสาทส่วนกลาง (Biophysical activity) 4 ตัวแปร (การหายใจ, การเคลื่อนไหว, แรง ตึงตัวของกล้ามเนื้อ , การเต้นของหัวใจทารก) ร่วมกับ การวัดปริมาณนํ้าครํ่าอีก 1 ตัวแปร
วิธีการตรวจ
.
• เตรียมหญิงตั้งครรภ์ในท่านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
• ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่ ต้องการ
• กําหนดค่าคะแนนของแต่ละข้อมูล ข้อละ 2 คะแนน
• เมื่อพบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อ พบว่าผิดปกติ
การแปลผล
.
• คะแนน 8-10 คะแนน แสดงว่า ปกติไม่มีภาวะ เสี่ยงควรตรวจซํ้าใน 1 สัปดาห์
• คะแนน 6 คะแนน แสดงว่า มีภาวะเสี่ยงต่อการ ขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจ ซํ้าใน 4-6 ชั่วโมง
• คะแนน 0-2 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาด ออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง ควรให้มีการคลอด โดยเร็ว
• คะแนน 4 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาด ออกซิเจนเรื้อรัง
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten
คือ การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน ในท่านอน ตะแคง มารดาสามารถเลือกเวลาที่สะดวกตอน ไหนก็ได้ หรือเวลาที่ทารกดิ้นเยอะในช่วงเย็นก็ได้ โดยไม่จําเป็นทําหลังรับประทานอาหาร ถ้านับลูก ดิ้นไม่ถึง 10 ครั้ง แปลผลว่า ผิดปกติ การประยุกต์วิธีการ
Cardiff count to ten
• คือ นับจํานวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4 ชั่วโมง ซึ่งนิยมให้นับในช่วงเช้า 8.00-12.00 น. ถ้า มีความผิดปกติในตอนบ่ายให้มาพบแพทย์ทันที
daily fetal movement record (DFMR)
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้งต่อชั่วโมง แปลผลว่าผิดปกติ ถ้านับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อวัน รวมจํานวนครั้ง ที่ดิ้นใน 12 ชั่วโมงต่อวัน ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้ง ถือว่า ผิดปกติ ทารกมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตในครรภ์
• Electronic Fetal monitoring
หัวตรวจ มี 2 แบบ คือ Tocodynamometer หรือ tocometer จะเป็นส่วนที่ วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อ ประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก ultrasonic transducer สําหรับฟังอัตราการเต้น ของหัวใจทารกจะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้อง บริเวณหัวใจทารก เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการหดรัดตัวของ มดลูด
.
การเต้นของหัวใจทารกและคําต่างๆ ที่เป็นสากล Baseline features (ในช่วงที่มดลูกไม่หดรัดตัว)
• Baseline fetal heart rate ปกติ110 – 160 ครั้ง/นาที
• Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที • Bradycardia < 110 ครั้ง/นาท
อัตราการเต้นของหัวใจทารก
Variability
.
• คือ อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการ เปลี่ยนแปลง
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat
การที่ variability ลดลงหรือหายไปแสดงถึง บาง ส่วนของสมองหยุดส่งกะแสไฟฟ้ากระตุ้นการทํางานของหัวใจทารกพบใน
.
• ทารกได้รับยากดประสารทเช่น Pethidine, Morphine, Phenobarb
• ทารกหลับ คลอดก่อนกําหนด
• ความพิการของหัวใจ หรือศรีษะ เช่น anencephaly
• มีภาวะ brain hypoxia
Periodic change
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm นานกว่า 15 วินาที
อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น 10 bpm นานกว่า 10 วินาที
deceleration
.
• Early deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของ มดลูก พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด เชื่อว่าเป็น reflex เกิดจากการที่ศรีษะทารกถูกกด
• Late deceleration
การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัว ของมดลูกการลดลง ถือเป็นความผิดปกติเชื่อ ว่าเกิดจากทารก hypoxia
• Variable deceleration
โดยอาจจะสัมพันธ์กับการหด รัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด พบใน prolapse cord หรือ นํ้าครํ่าน้อย
• Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาทีแต่ไม่ ถึง 10 นาทีการแก้ไข : ตรวจสอบหาการพลัดตํ่า ของสายสะดือ
หลักการดูแลทารกที่มีการเต้นของ หัวใจผิดปกติ
.
• เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้ สารนํ้าทางเส้นเลือด ช่วยลดความกังวลใจให้กับ มารดา
• เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดทำมารดา การ ตรวจภายในดันส่วนนําของทารกเพื่อลดการกดสาย สะดือถ้าเกิดภาวะสายสะดือย้อย
• เพิ่ม oxygen saturation โดยการจัดท่ามารดา ให้ออกซิเจนแก่มารดา และสอนวิธีการหายใจที่ถูก ต้องในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
• ลด uterine activity โดยปรับเปลี่ยนการให้ยาที่ เหมาะสม จัดท่ามารดาให้สารนํ้าทางเส้นเลือด และ สอนวิธีการการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
ทารกมีปัญหาการเต้นหัวใจที่ผิดปกติในระหว่างเจ็บครรภ์
.
• ทารกมีปัญหาการเต้นหัวใจที่ผิดปกติในระหว่าง เจ็บครรภ์
• จัดท่ามารดา โดยทั่วไปนิยมให้มารดานอนใน ท่าตะแคงซ์าย
• แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation หยุดการให้ยา oxytocin
• ให้ออกซิเจนแก่มารดาผ่านทางหน้ากากใน อัตรา 8-10 ลิตร/นาที
• ทําการประเมินการเต้นของหัวใจทารกตลอดเวลา
Non-Stress Test (NST)
.
•ตั้งครรภ์เกินกําหนด( post term)
• ทารกเติบโตช้าในครรภ์ (intra uterine growth retardation)
• มารดาเป็นเบาหวาน
• มารดามีประวัติความดันโลหิตสูง
• มารดาเป็นโรคโลหิตจางหรือมีฮีโมโกลบินผิดปกติ
• มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
• ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
การแปลผล
Reactive
.
• มี acceleration (การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้น ของหัวใจมากกว่า 15 ครั้ง/นาทีและคงอยู่นาน อย่างน้อย 15 วินาทีเมื่อทารกเคลื่อนไหว โดย บันทึกการตอบสนองดังกล่าวได้อย่างน้อย 2 ครั้ง ภายใน 20 นาที)
• มี baseline FHS ระหว่าง 120-160 ครั้ง/นาที
• มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
• ไม่มี deceleration ของการเต้นของหัวใจทารก การแปลผล (NST)
Non-reactive
.
• ผลที่ได้จากการทดสอบไม่ครบตามข้อกําหนดของ reactive NST ในระยะ เวลาของการทดสอบนาน 40 นาที
• Suspicious หมายถึง มีการเพิ่มของอัตราการเต้น ของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้งหรืออัตราการเพิ่มขึ้น น้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที และอยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อมีทารกดิ้น แต่กราฟที่ได้ต้องมี long term variability ที่ดี
• Uninterpretable หมายถึง คุณภาพของการ ทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกําหนด ควรทําการทดสอบซํ้าภายใน 24-48 ชั่วโมง
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการ เต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว เพื่อคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงว่ามี เลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกพอหรือไม่ ก่อนจะเจ็บครรภ์คลอด และถ้าให้ตั้งครรภ์ต่อไปทารกจะทน ต่อการหดตัวของมดลูก เมื่อเจ็บครรภ์คลอดได้ หรือม่
การแปลผล
.
•Negative : มี UC 3 ครั้งใน10 นาทีโดยไม่มี late deceleration
• Positive : พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะ ช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
• Suspicious : มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุก ครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก หรือมีการลดลงของ FHS ในช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูกร่วมกับ มดลูกหดรัดตัวถี่มากเกินไป
• Unsatisfactory : เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ หรือ UC ไม่ดีพอ
การติดตามผล
• Negative : ทารกอยู่ในสภาพปกติแนะนํานับลูก ดิ้นและตรวจซํ้าใน 1 สัปดาห์
• Positive : ทารกอยู่ในสภาพพร่องออกซิเจน ช่วยเหลือโดย Intrauterine resuscitation และ หยุด Oxytocin ทันทีหลังจากนั้น 15-30 นาทีให้ ทํา CST ซํ้า ถ้าผล Positive อีกครั้งควรสิ้นสุด การตั้งครรภ
นายคณาธิป ชอบผล เลขที่ 8