บทบาทพยาบาลในการประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
ตรวจจากเลือดทารก
เจาะจากสายสะดือผ่านหน้าท้อง(PUBS)
หาระดับ Bilrubin ของทารก
วินิจฉัยความผิดปกติทางพันธุกรรม
ทำเมื่อ GA 18 up
การพยาบาลหลังเจาะ
วัด v/s ฟัง FHS และ UC
งดทำงานหนัก 24-72
งดมีเพศสัมพันธ์
การเจาะจากหนังศีรษะทารก
ข้อบ่งชี้
FHR tracing ผิดปกติ
ทำในรายเห็นศีรษะเป็นส่วนนำ
ปากมดลูกเปิด น้ำคร่ำแตก
pH 7.20-7.24 ควรตรวจซ้ำใน 15-20 นาที
ถ้าต่ำกว่า 7.20 ให้ช่วยคลอดเร็วที่สุด
การตรวจวิเคราะห์เนื้อรก
ตรวจโครโมโซม DNA และเอนไซม์
การพยาบาลหลังทำ
ทำผ่านทางปากมดลูก
ตรวจเมื่อ GA 8-11 wks
.ใช้ catheter เจาะและดูด
งดทำงานหนักหรือออกกำลังกาย 24-72 งดมีเพศสัมพันธ์ประมาณ 10-14 วัน
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การพยาบาล
ขณะเจาะ
นอนหงายราบศีรษะสูง 30 องศา
หลังเจาะ
งดการมีเพศสัมพันธ์2-3 : วัน
ไม่ออกกำลังกายและทำงานหนัก 1 วันหลังเจาะ
การวิเคราะห์น้ำคร่ำ
เพื่อประเมินอายุครรภ์และ fetal maturity
L/S ratio
ค่าปกติมากกว่า 2.0
foam stability test
ทดสอบความสมบูรณ์ของปอด
ตรวจ creatinine
ไม่ต่ำกว่า 2.0/100 ml
Nile blue test
ตรวจหาเซลล์ไขมัน
เซลล์ติดสีส้มเป็นเซลล์ไขมัน ติดมากกว่าร้อยละ 50 แสดงว่าอายุครรภ์ครบกำหนด
ตรวจเพื่อประเมินความก้าวหน้า
ดูสีของน้ำคร่ำ
ตรวจหาระดับ Bilirubin ในน้ำคร่ำ
ตรวจหาความผิดปกติของพันธุกรรมและความพิการ
AFP
ตรวจหาเอนไซม์
เพาะเลี้ยงเซลล์และตรวจ karyotying
การประเมินด้วยอิเล็กโทรนิก
NST/FAD
ไม่มีข้อห้ามสามารถทำได้ทุกราย
ตรวจใช้เวลาประมาณ 20-40 นาที
reactive
Non-reactive suspicious
CST/OCT
ทำในกรณีที่ NST ขั้นต้นผล non-reactive
ห้าม ในรายเสี่ยงมดลูกแตก คลอดก่อนกำหนด ครรภ์แฝด
negative บ่งชี้ทารกไม่มีอันตรายจาก uteroplacental insufficiency ภายน 1 สัปดาห์
positive ทารกมี late deceleration ทารกอยู่ในอันตราย ควรให้คลอดเร็วที่สุด
BPP
นิยมทำ GA 16-18 wks
ประกอบด้วย
1.การเคลื่อนไหวหายใจของทารก 2.การเคลื่อนไหวของทารกส่วนลำตำ
3.ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
4.ปริมาณของน้ำคร่ำ
5.NST