Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
3.1 Biochemical Assessment
Amniocentesis
คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะ
นํ้าครํ่าเพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิด
ปกติเช่น ตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 35 ปี โรคโลหิตจาง
ธาลัสซีเมีย
วิธีการเจาะ
Amniocentesis
ทําโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็ม
ขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้องและผนังมดลูกเข้า
สู่ถุงนํ้าครํ่า มาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทําเมื่ออายุครรภ์16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
Amniocentesis
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อยมีเลือดหรือ
นํ้าครํ่าออกทางช่องคลอดโอกาสแท้ง ทารกตายหรือเจ็บครรภ์ก่อนกําหนดพบประมาณร้อยละ0.5
การติดเชื้อในถุงนํ้าครํ่า การติดเชื้อในกระแส
เลือดขั้นรุนแรงเกิดขึ้นน้อยกว่า 1 รายจากการ
เจาะ 1,000 ราย
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทาน
ต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์มารดาสร้างภูมิต้านทาน
ต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์หลังการตรวจ
คําแนะนําหลังการเจาะ
Amniocentesis
ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการเหล่านี้
ปวดเกร็งหน้าท้องมา
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีนํ้าหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังจากการเจาะ1 วัน ควรงดการออกแรงมาก ไม่ควรเดินทางไกลภายใน
7 วันหลังการเจาะนํ้าคร่ำ
บทบาทของพยาบาล
Amniocentesis
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอา
เข็มออก ประมาณ 1 นาทีและปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทํา 3 วิธี
จากการดูสีของนํ้าครํ่า มีเลือดปนใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
การตรวจหาค่า L/S ratio (Lecithin Sphingomyelin Ratio)
ตรวจหาอัตราส่วนระหว่าง สาร Lecithin ต่อสาร Sphingomyelin ในนํ้าครํ่าของทารก
26 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ค่า S > L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ค่าL / S ratio =1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมาก
ขึ้นทําให้ ratio สูงขึ้น
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์
เต็มที่ไม่ค่อยเกิดภาวะ RDS
Shake Test
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกใน
ครรภ์โดยใช้หลักการของความสามารถในการคงสภาพของฟองอากาศของสารลดแรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
วิธีการทํา
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่นํ้าครํ่าจํานวน 1 cc , 0.75 cc ,
0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc ตามลําดับแล้วเติม normal
saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทําให้
ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอดแล้วเติม Ethanol 95 %
ทุกหลอดเขย่านาน 15วินาทีทิ้งไว้นาน 15 นาที
การแปลผล
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรกแสดง
ว่าได้ผลบวก ปอดทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอดปอดทารกยังไม่
เจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลยแสดงว่าการทดสอบปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
3.1 Biochemical Assessment
Alpha fetoprotein (AFP)
AFP เป็นค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรก ใช้ค่านี้ใน
การตรวจสอบความผิดปกติของรกและเนื้อเยื่อที่
เกี่ยวข้องกับรก
ค้่าปกติ AFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้งครรภ์แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube เช่น anencephaly myelomeningocele , Spinabifida
anencephaly (ภาวะกะโหลกศีรษะไม่ปิด)
Spinabifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง(spina bifida) ซึ่งมี
ถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตําแหน่งที
โรคมัยอีโลเมนิ่งโกซีล (Myelomeningocele)
ความผิดปกติใน 2 - 3 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์ ส่งผล
ต่อการเจริญเติบโตของตัวอ่อน ทําให้ไม่สามารถเชื่อม
ตัวที่บริเวณหลังส่วนเอว ฉะนั้นไขสันหลังจึงเกิดได้ไม่สมบูรณ์และเป็นแผ่นแบนอยู่ที่ผิวของร่างกายล้อมรอบด้วยผิวหนัง
Fetoscopy
คือ การส่องกล้องดูทารกในครรภ์
หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุง
นํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์
เพื่อดูความผิดปกติของทารก
ขั้นตอนการทํา
งดนํ้างดอาหารก่อนทํา 6-8 ชั่วโมง
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทํา
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทํา
ต้องตรวจสอบปริมาณนํ้าครํ่าหลังทํา
งดการทํางานหนัก1 – 2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทาง
ช่องคลอดติดเชื้อนํ้าครํ่ารั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่
กับเลือดลูกปนกัน
Chorionic villous sampling
คือการดูดเอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกตของโครโมโซม Chromosome เช่นเดียวกันกับ การตรวจนํ้าครํ่า สามารถบอกความผิดปกติของ
โครโมโซม เช่น Down's syndrome
ไม่สามารถตรวจพบภาวะเยื่อหุ้มไขสันหลังปิดไม่
สนิทที่เรียกว่า Spina Bifida ได้
ทําช่วง 10-13 wks. ไม่ควรทํา ก่อนอายุครรภ์ 10
สัปดาห์ เพราะเพิ่มอัตราการเกิดทารกพิการแบบ
limb reduction defect โดยทั่วไปเกิดเมื่อทํา
ขณะอายุครรภ์ 7 สัปดาห์
cordocentesis
(Percutaneuos umbilical blood sampling or
cordocentesis)
หมายถึง การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสาย
สะดือโดยทั่วไปเจาะจากหลอดเลือดดํา
เนื่องจากการเจาะหลอดเลือดแดงจะกระตุ้นให้
เกิดหลอดเลือดหดรัดตัว หัวใจทารกเต้นช้าลง
ทํา ช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์