Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับ การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน, น.ส…
บทที่ 5 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับ
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
1.การประเมินภาวะอนามัยชุมชน(Community assessment)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
1.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
1) การบรรณาธิกรข้อมูลหรือการตรวจสอบข้อมูล
2) การแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูล
3) การแจงนับข้อมูล (Tally)
4) การคำนวณทางสถิติ
1.2.2 การนำเสนอข้อมูล
1) การนำเสนอแบบบทความ (Textual presentation)
2) การนำเสนอแบบบทความกึ่งตาราง (Semi-tabular presentation)
3) การนำเสนอข้อมูลแบบตาราง (Tabular presentation)
4) การนำเสนอด้วยกราฟ (Graphic presentation)
5) การนำเสนอด้วยแผนภูมิ (Chart presentation)
1.2.3 การแปลผลข้อมูล
1.2.4 การสรุปผลข้อมูล
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลอนามัยชุมชน ( Data collection )
1.1.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) การสังเกต เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือปรากฏการณ์ต่างๆ
3) การใช้แบบสอบถาม เป็นวิธีการที่ใช้กันมากในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับความคิดเห็น ความสนใจหรือทัศนคติ
2) การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการค้นหาข้อมูลด้วยการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ไว้ล่วงหน้าและยังเป็นวิธีที่ช่วยให้ได้รายละเอียดหรือข้อมูลอย่างตรงเป้าหมาย
4) การทดสอบ เป็นวิธีรวบรวมข้อมูลด้วยการใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งทดสอบกับผู้ที่ต้องการให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมในด้านความจำ ความถนัด สติปัญญา รวมทั้งการวัดสภาพจิตใจ
5) การตรวจชนิดต่างๆ ได้แก่ การตรวจร่างกาย
7) การทำแผนที่ชุมชน จะทำให้ให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับชุมชน
8) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการเรียนรู้วิถีชุมชนของโกมาตร จึงเสถียรทรัพย์
แผนที่เดินดิน
แผนที่เดินดิน
ระบบสุขภาพชุมชน
ปฏิทินชุมชน
โครงสร้างองค์กรชุมชน
ประวัติศาสตร์ชุมชน
ประวัติชีวิต
6) การสังเกตและสัมภาษณ์จากผู้นำหรือผู้รู้ในชุมชน ส่วนใหญ่จะเป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชุมชน
1.1.1 ชนิดของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวม
1) ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย
ด้านสถานภาพอนามัยของชุมชน เช่น ข้อมูลทางระบาดวิทยา
สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอนามัย เช่น จำนวนสถานบริการสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน
ข้อมูลเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในด้าน ประเภท จำนวน ลักษณะการทำงาน
องค์กรและโครงการอนามัยในชุมชน เช่น มูลนิธิ กิจกรรมต่างๆ
2) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เช่น ประวัติ ความเป็นมา สถานที่ตั้ง
ประชากรในชุมชน เช่น จำนวนประชากรทั้งหมดแยกตามเพศ อายุ อัตราส่วนผู้มีภาระ
การติดต่อสื่อสาร การคมนาคม เศรษฐกิจของชุมชน การปกครอง กฎหมาย
1.1.2 แหล่งข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการพัฒนาอนามัยชุมชนนั้นสามารถเก็บได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
2) แหล่งทุติยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีการบันทึกไว้แล้ว
1.1.2 แหล่งข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการพัฒนาอนามัยชุมชนนั้นสามารถเก็บได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
1.1.4 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ศึกษาวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูล และลักษณะของข้อมูล
3) สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามชนิดของข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ
2) ศึกษาวิธีการและแหล่งในการเก็บรวบรวมข้อมูล
4) กำหนดขนาดตัวอย่างและเลือกกลุ่มตัวอย่าง
5) การเตรียมตัวในการเก็บข้อมูล
6) เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่วางไว้
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Problem Identification)
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
2.1.1 ปัญหาอนามัยชุมชน เป็นปัญหาที่ต้องการการซ่อมหรือแก้ไขโดยการลด ละ เลิก
1) สิ่งที่ทำให้กระทบกระเทือนต่อสุขภาพของคนในชุมชนโดยตรง
2) ใสภาวะ (Condition) อันอาจจะเป็นทางนำไปสู่ปัญหาเพราะโรคและการเสี่ยงโรค
2.1.2 ปัญหาอนามัยชุมชน คือ ปัญหาประเภทที่ต้องทำเป็นการมองปัญหาจากจุดที่ควรจะเป็น ที่เป็นวัตถุประสงค์ที่ต้องการบรรลุ
2.2 ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
2.2.1 กำหนดดัชนีที่จะใช้ประเมินปัญหาอนามัยชุมชน
1) กลุ่มดัชนีชีพ ได้แก่ ข้อมูลการตาย
2) ดัชนีกลุ่มปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มสิ่งแวดล้อมเสี่ยง พิจารณาจากด้านสถานภาพของประชากร
สุขภาพที่ดีของหญิงตั้งครรภ์ พิจารณาจาก อัตราแม่ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและการคัดกรองธาลัสซีเมีย
กลุ่มพฤติกรรมเสี่ยง นับเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาอนามัยชุมชน
ดัชนีชี้วัดด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
2.2.2 การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
1) วินิจฉัยปัญหาโดยนำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ตามดัชนีที่เลือกไว้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานตามดัชนี
2) วินิจฉัยปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Norminal Group Problem) โดยการให้ชุมชนหรือผู้นำชุมชนหรือประชาชนมีส่วนร่วมในตัดสินใจ
2.3 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
2.3.1 ข้อมูลในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
1) อุบัติการณ์ของโรค (Incidence) เป็นดัชนีที่แสดงถึงมาตรการการป้องกันโรคว่าดีหรือยัง ถ้าอุบัติการณ์ของโรคสูงแสดงว่าโรคนั้นยังเป็นปัญหาของชุมชน
2) ความชุกของโรค (Prevalence) เป็นดัชนีที่แสดงถึงการรักษาและการป้องกัน ตลอดจนการบริการและสังคมสงเคราะห์อื่นๆ
3) ความรุนแรงของโรค (Virulence) เป็นดัชนีที่แสดงถึงความรุนแรงของโรค โรคใดที่เป็นแล้วเกิดการพิการหรือตายมาก แสดงว่าโรคนั้นมีความรุนแรงของโรคมาก
4) การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic loss) โรคใดที่เป็นแล้วทำงานไม่ได้ เสียวันทำงานมาก โรคนั้นย่อมเป็นปัญหามากกว่าโรคที่เสียวันทำงานน้อย
5) โรคนั้นป้องกันได้ (Preventable) เช่น การให้วัคซีนป้องกันโรค โรคที่สามารถป้องกันได้ย่อมต้องจัดความสำคัญไว้สูงกว่าโรคที่ยังไม่สามารถป้องกันได้
6) โรคนั้นรักษาให้หายได้ (Treatable) โรคนั้นมียาหรือวิธีการจำเพาะในการรักษาหรือไม่ ถ้ามีจะได้รับการจัดลำดับความสำคัญไว้สูงกว่าโรคที่ยังไม่มีวิธีการรักษาจำเพาะ
8) ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (Community concern and participation) หมายถึง ความตระหนักของชุมชนและความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้น
7) ทรัพยากรทางด้านสาธารณสุขและอื่นๆ (Health and resources) หมายถึง บุคลากร เงิน วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ และเทคโนโลยีต่างๆที่ใช้ในการแก้ปัญหาสาธารณสุขในชุมชน
2.3.2 ขั้นตอนในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
1) การเตรียมหลักเกณฑ์ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา (Size or Magnitude of problem)
ความรุนแรงของปัญหา (Severity or Seriousness of problem)
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (Feasibility)
ความร่วมมือของชุมชน (Community concern)
ความเสียหายในอนาคต (Loss of Future)
2) การพิจารณาความสำคัญของหลักเกณฑ์
3) การประเมินปัญหาต่างๆตามหลักเกณฑ์ ในขั้นตอนนี้เป็นการนำปัญหาต่างๆ มาพิจารณาให้คะแนนตามหลักเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้
วิธีของภาควิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาวิธีนี้ เป็นวิธีที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีหลักเกณฑ์ที่ง่ายต่อการตัดสินใจ คำนวณเป็นคะแนนได้ง่าย ไม่ซับซ้อน
วิธีของกระบวนการกลุ่ม (Norminal Group Process ) การนำกระบวนการกลุ่มมาใช้ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ก็เพื่อให้ประชาชนตัดสินใจ เลือกแก้ปัญหาด้วยตนเอง
2.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Problem Analysis)
2.5 การวินิจฉัยสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหา
องค์ประกอบที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาตามบุคคล สถานที่ และเวลา
2.6 โยงใยสาเหตุของปัญหา (Web of Causation)
การได้รับปัจจัยสาเหตุต้องเกิดขึ้นก่อนการเป็นโรค
ความสัมพันธ์ของปัจจัย สาเหตุกับการเกิดโรคนั้นเป็นไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
ถ้าได้รับปัจจัยเสี่ยงมาก การเป็นโรคยิ่งมาก ถ้าได้รับน้อยกว่า การเป็นโรคก็จะน้อยกว่า
การเกิดโรคใดโรคหนึ่งจะมีสาเหตุที่เฉพาะเจาะจงต่อโรคนั้น ๆ
ไม่ว่าจะศึกษาด้วยวิธีใดก็ตาม ผลสรุปที่ได้คือปัจจัยนั้นเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
การพิสูจน์หาความสัมพันธ์ที่พบต้องไม่ขัดแย้ง หรือลบล้างผลการศึกษาเชิงเหตุและผลที่เคยทำมาก่อนหน้านี้
2.7 การสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมอนามัย (KAP Survey)
การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
ชื่อโครงการ: ควรสั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย และสื่อความหมาย ที่ชัดเจน
3.ผู้รับผิดชอบโครงการ: โครงการทุกโครงการจะต้องมีผู้ทำโครงการรับผิดชอบดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ: การเขียนโครงการจะต้อง
ระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทำโครงการนั้นๆ
หลักการและเหตุผล: เป็นส่วนสำคัญที่แสดงถึงความเป็นมาของโครงการ สาเหตุการจัดทำโครงการ ความสำคัญ
วัตถุประสงค์: เป็นการกล่าวถึงเจตจำนงในการปฏิบัติ และผลงานที่คาดว่าจะได้รับ
โดยจะต้องมีความสอดคล้องกับ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เป้าหมายดำเนินงาน/ตัวชี้วัด: ต้องเขียนให้ชัดเจน เพื่อแสดงให้เห็นผลงานหรือผลลัพธ์ที่เป็นเชิงคุณภาพ หรือปริมาณที่คาดว่าจะทำให้เกิดขึ้น ในระยะเวลาที่กำหนด
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ: เป็นการระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ จนกระทั่งถึงเวลาสิ้นสุดโครง
วิธีดำเนินการ: เป็นการกำหนดรายละเอียด ของการดำเนินงานของโครงการ
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้
สถานที่ดำเนินงาน: เป็นการระบุสาน
ที่ตั้งของโครงการหรือกิจกรรมนั้นๆ
งบประมาณ: งบประมาณควรแจกแจง ตามระยะเวลาของการดำเนินงานโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ: เป็นการคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นที่เป็นประโยชน์
เมื่อโครงการสิ้นสุดลง
การปฏิบัติตามแผนงานอนามัยชุมชน (community implementation)
ขั้นเตรียมการ
การเตรียมตัวพยาบาลอนามัยชุมชน
การเตรียมผู้รับบริการ ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
การเตรียมทรัพยากร/อุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
รงการเป็นการลงมือปฏิบัติตามโครงการที่ได้กำหนดไว้ โดยดำเนินงานให้สอดคล้องกับสิ่งที่ได้จัดเตรียมไว้ตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล
การประเมินผลการดำเนินงานอนามัยชุมชน (community evaluation)
การประเมินผลมี 3 ลักษณะ
การประเมินผลในระหว่างการปฏิบัติงาน (On – going evaluation)
การประเมินผลในขณะที่โครงการกำลังดำเนินงานอยู่เพื่อดูว่าโครงการมีความก้าวหน้า มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่
การประเมินผลหลังการปฏิบัติงาน (End – of – project evaluation)
การประเมินหลังจากการดำเนินงานโครงการสำเร็จลงแล้ว เพื่อหาคำตอบว่าโครงการที่ดำเนินงานมานั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิภาพผลอย่างไร
การประเมินผลก่อนการปฏิบัติงาน (Pre – evaluation)
การประเมินผลในช่วงก่อนการปฏิบัติงาน การประเมินลักษณะนี้จะประเมินดูความเป็นไปได้ของโครงการ
ชนิดของการประเมินผล สามารถแบ่งได้เป็น 5 ชนิด
ประเมินความก้าวหน้า (Progress)
ประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประเมินความเหมาะสม (Adequacy)
ประเมินประสิทธิผล (Effectiveness)
ประเมินผลกระทบ (Impact)
น.ส ทิวาภรณ์ นวลบริบูรณ์ เลขที่ 18 รหัส 603901019