Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่, รูปภาพ1 - Coggle Diagram
โรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่
เตรียมเตียงที่มีช่องตรงกลางสำหรับให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้
ล้างมือให้สะอาด
ดื่มน้ำต้มสุกและสะอาด
รับประทานอาหารปรุงสุก
หลีกเลี่ยงอาหารดิบ
รับประทานผลไม้ที่ปอกเปลือกเอง
ระวังผลิตภัณฑ์เนยนม
ไข้เลือดออก
ระยะไข้
ไข้สูง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
มักมีหน้าแดง
อาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา
2-7 วัน
ระยะช็อค
ซึม
เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจร
เต้นเบาแต่เร็ว
ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย
24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น
รู้สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง
ปัสสาวะมากขึ้น
ผื่นแดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลำตัว
การดูแลผู้ป่วย
ระยะช็อค
การประเมินสัญญาณชีพ ถ้าไข้ลดเข้าสู่ระยะช็อค
ประเมินสัญญาณชีพ ดูค่า pluse pressure ถ้าแคบกว่า 20 mmHg และ Blood pressure น้อยกว่า 90/60 ให้รายงาน
ประเมินปริมาณของปัสสาวะ
ประเมินอาการของภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการแน่นอึดอัดท้อง ประเมินอาการเลือดออกตามระบบต่างๆ
ระยะพัหฟื้น
ประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูแลตนเอง
การวินิจฉัย
ช็อค
มีไข้สูง
มีเลือดออกง่าย
เจ็บชายโครงขวาเนื่องจากตับโต
เกล็ดเลือดต่ำ
เลือดข้นขึ้น
ประวัติอาศัย/เดินทางจากพื้นที่ระบาดภายในระยะเวลา 1 เดือน เคยป่วยเป็นโรคมาลาเรียในระยะเวลา 3 เดือน
มีอาการไข้ และ/ร่วมด้วยอาการ ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อและข้อ หนาวสั่น เหงื่อออก เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
PCR
การตรวจหาสารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้
การเพาะเชื้อจากของเหลวหรือเนื้อเยื่อในร่างกาย
เกิดจากการติดเชื้อ Salmolnella typhi ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
RT-PCR
การพยาบาล
การรักษาบาดแผลและลักษณะของแผลที่ถูกสัตว์กัด
หากมีอาการหลัวน้ำ กลัวลม ดูแลตามอาการ
ปวดศรีษะทันที
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
ไข้สูง 28-40 องศา
อาการต่างๆอาจอยู่ได้4-7วัน
หากมีอาการรุนแรงจะพบตาเหลือง ตัวเหลือง มีอาการคอแข็ง ความดันโลหิตต่ำ
มีอาการปวดศรีษะไข้ต่ำๆ
คอแข็ง มีการอักเสบของเยื่อหุ้มสอง
หลังจากมีไข้1 สัปดาห์ โดยเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2วันแล้วกลับมีไข้อีก
มีเชื้อออกมาหในปัสสาวะ
Severe leptospirosis
ภาวะเยื่อบุตาบวมแดง
กดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงโดยเฉพาะที่น่อง
มีเลือดออกแบบต่างๆ
ผื่น
อาการเหลือง
การวินิจฉัย
ESR
ตรวจปัสสาวะ
CBC
ตรวจการทำงานของตับ
จากประวัติการสัมผัสโรค
ในรายที่รุนแรงการทำงานของไตจะเสื่อม
การเพาะเชื้อจากเลือด
การตรวจทางภูมืคุ้มกัน
การพยาบาล
การให้สารน้ำและเกลือแร่
การพยาบาลเมื่อมีความรุนแรงของโรค
การให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
การให้ยากันชัก
การให้ยาแก้ปวด
หากเกล็ดเลือดต่ำอาจจำเป็นต้องให้เกล็ดเลือดหรือน้ำเหลือง
การให้ยาลดไข้
การแก้ภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ปัญหาตัววาย ไตวาย
Tetanus
การวินิจฉัย
พบเชื้อ Clostidium tetani
spatula test
ตรวจระดับ serum antitoxin titer
แต่ในผู้ปวดบาดทะยัก จะพบผู้ป่วยกัดไม้กดลิ้น
วัณโรค
การแพร่กระจายของเชื้อ Transmission
สภาวะที่เอื้ต่อการติดเชื้อ
ความเข้มข้นของเชื้อโรค
ระยะเวลา
ภูมิคุ้มกันของคนที่สัมผัสเชื้อโรค
จำนวนเชื้อวัณโรคที่อยู่ในอากาศ
เชื้อที่เป็นสาเหตู
M bovis
M africanum
M tuberculosiso var hominis
M microti
การวินิจฉัย
การ Tuberculin tese
การถ่ายรังสีปอด
การตรวจเสมหะ
การตรวจหาเชื้อวัณโรคโดยวิธี RNA and DNA
ประวัติการสัมผัสโรค
การปฏิบัติตน
ควรงดสิ่งเสพติดทุกชนิด
สวมผ้าปิดจมูก
กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งอย่างส่ำเสมอจนครบกำหนด
เปลี่ยนผ้าปิดจมูกบ่อยๆ
บ้วนเสมหะลงในภาชนะ
จัดบ้านให้อากาศถ่ายเทสะดวก
การติดเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei ชนิด Gram-negative bacilli
ระยะฟักตัว1-21วัน
อาการ
Localized Infection
Pulmonary Infection
Bloodtream Infection
Dosseminated Infection