Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของช่องคลอด (Abnormaliity of passage) - Coggle Diagram
ความผิดปกติของช่องคลอด
(Abnormaliity of passage)
Abnormaliity of true pelviis
เชิงกรานแตกหรือหัก (Pelvic fracture)
กระดูกหัก มีผลทำให้ คลอดทางช่อง
คลอดไม่ได้ ต้อง C/S
ช่องเชิงกรานแคบ (Plevic contraction)
ช่องเชิงกราน แคบที่ ช่องเข้า Inlet
contraction
ช่องเชิงกราน แคบที่ ช่องภายใน
Midpelvic contraction
ช่องเชิงกรานแคบ ที่ช่องออก
Outlet contraction
ช่องเชิงกราน แคบทุกส่วน
Generally contracted pelvis
เชิงกราน รูปร่าง ผิดปกติ
ผิดสัดส่วน หรือ พิการ Pelvic abnormalities
มักเป็นมา แต่กำเนิด หรือ ภายหลัง
จากการขาด สารอาหาร บางอย่าง เช่น Kypholic pelvis , Scoliotic pelvis
สาเหตุุ
การเจริญเติบโตผิดปกติ
มาตั้งแต่กำเนิด
พิการแต่กำเนิดร่วมกับความ
พิการของกระดูกสันหลังหรือขา
ส่วนสูงน้อยกว่า 140 cm.
ขาดฮอร์โมนเพศหญิง
อุ้งเชิงกรานยังเจริญไม่เต็มที่ Age < 18 y
เชิงกราน ยืดขยายลำบาก Age > 35 y
เป็นโรคกระดูก เนื้องอก
หรือวัณโรคกระดูก
อุบัติเหตุ ที่ทำให้ เชิงกราน
หักแตก หรือเคลื่อน
ผลกระทบ
Inlet contraction
ผลต่อการดำเนินการคลอด
1.ทารกผ่านช่องเชิงกราน
ได้ยากหรือ ไม่ได้เลยเชิงกรานชนิด
Android หรือ Platypelloid
ปากมดลูก เปิดขยายช้า
เพราะส่วนนำไม่กดกระชับกับ ปากมดลูก
และมดลูกส่วนล่าง
ทารกมีส่วน นำผิดปกติ
เช่น ท่าหน้า ท่าก้น ท่าไหล่
ผลต่อผู้คลอด และทารก
ผู้คลอด
ส่วนนำ กดช่องทางคลอดนาน ส่งผลให้
ขาดเลือด มาเลี้ยง เกิดเนื้อตาย ส่งผลเกิด fistula ตามา เช่น Vesico vaginalfistula , Rectovaginalfistula, Vesico cervicalfistula
ถุงน้ำแตกก่อน กำหนด
หรือแตกในระยะต้นๆ ของการเจ็บครรภ์
มดลูกแตก Uterine rupture
ผู้คลอด เหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
เลือดเป็นกรด เกิดความกลัว วิตกกังวล จากการเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
ทารก
1.ทารกเกิด Fetal distress
2.ทารกมี molding มากกว่าปกติ
3.ทารกเกิด Caput succedaneum, Cephal
hematoma
4.ทารก เกิด เนื้อตาย ของหนังศีรษะ Scalp
necrosis
Midpelvic contraction
ผลต่อการดำเนินการคลอด
1.ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำช้า
หรือ เคลื่อนต่ำผ่าน ปุ่ม ischial spine ไม่ได้เลย
การหมุนภายในของศีรษะทารก ถูกขัดขวาง
ส่งผลให้ท้ายทอย ทารกหยุดชะงักอยู่ด้านข้าง
เกิดภาวะ Transverse arrestof head
การหดรัดตัว ของมดลูกไม่มีประสิทธิภาพ
เนื่องจาก ส่วนนำไม่สามารถ
เคลื่อนต่ำลงมากดกระชับปากมดลูก และมดลูก
ส่วนล่าง
ผลต่อผู้คลอด และ ทารก
ผู้คลอด
ส่วนนำ กดช่องทางคลอดนาน ส่งผลให้
ขาดเลือด มาเลี้ยง เกิดเนื้อตายส่งผลเกิด
fistula ตามา เช่น Vesico
vaginalfistula , Rectovaginalfistula ,
Vesico cervicalfistula
ถุงน้ำแตกก่อน กำหนด
หรือแตกในระยะต้นๆ ของการเจ็บครรภ์
มดลูกแตก Uterine rupture
ผู้คลอด เหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
เลือดเป็นกรด เกิดความกลัว วิตกกังวลจากการ เจ็บครรภ์คลอดยาว นาน
ทารก
1.ทารกเกิด Fetal distress
2.ทารกมี molding มากกว่าปกติ
3.ทารกเกิด Caput succedaneum,
Cephal hematoma
4.ทารก เกิด เนื้อตาย ของหนังศีรษะ Scalp
necrosis
Outlet contraction
คลอดศีรษะยาก
คลอดไหล่ยาก
ฝีเย็บฉีกขาด และยืดขยาย มาก
ผู้คลอดอาจถูกทำสูติศาสตร์หัตถการ
ในรายที่ศีรษะติดอยู่นานท่าก้น
หรือทารกอยู่ในภาวะคับขัน
เชิงกรานแคบทุกส่วน
เกิดการคลอดติดขัด ส่วนนำทารก
ไม่สามารถ เข้าสู่ช่องเชิงกรานได้
เชิงกรานแตก หรือ หัก
กระดูกใหม่ งอก และหนาตัวขึ้นหรืออาจเชื่อม
ต่อกัน แล้วไม่เข้ารูปเดิมจึงมีรูปร่าง ผิดปกติไป
ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ผู้คลอดจำเป็นต้อง C/S
เชิงกราน รูปร่างผิดปกติ
ผิดสัดส่วน หรือ พิการ
ไม่สามารถคลอด ทางช่องคลอดได้
จำเป็นต้อง C/S
Cephalopelviicdiisproportiion
: CPD
True disproportion
ศีรษะทารก ไม่ได้ สัดส่วนกับ
ช่องเชิงกราน อย่างแท้จริง ทารกมีศีรษะเป็น
ส่วนนำ มียอดศีรษะเป็นส่วนนำ มีท้ายทอยอยู่ด้านหน้า แต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้
Relative disproportion
ศีรษะทารก ไม่ได้ สัดส่วน กับช่อง
เชิงกรานแบบ สัมพันธ์ เป็นชนิด ที่ทารกมีส่วนนำ ทรงและ ท่าผิดปกติ ตัวทารก
ไม่ใหญ่มาก แต่ส่วนที่ผ่านช่องเชิงกราน ลงมา
มีขนาดใหญ่ ทำให้ไม่สามารถ คลอดได้
ผลกระทบ
1.คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดหยุดชะงัก
หรือ คลอดติดขัด ต้องใช้สูติศาสตร์ หัตถการช่วยคลอด
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
เนื่องจาก เจ็บครรภ์คลอด ยาวนาน
มดลูกแตก เนื่องจาก การคลอด ติดขัดซึ่งมีแรงดัน ในโพรง มดลูกเพิ่มขึ้นจาก ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่อง เชิงกราน
ภาวะสาย สะดือพลัดต่ำ เนื่องจาก
ส่วนนำของทารก ไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงมา กระชับกับ ช่องคลอด หรือทารกท่า ผิดปกติ
ช่องทางคลอด ฉีกขาดมาก
ทารกในครรภ์ ขาดออกซิเจน เนื่องจาก
คลอดติดขัด คลอดยาก หรือคลอดยาวนาน
ทารก ได้รับ บาดเจ็บจาก การคลอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การคลอด ในครรภ์ก่อน ระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด ระยะเวลาคลอดการใช้สูติศาสตร์ หัตถการช่วยคลอดvการเกิด อุบัติเหตุ
การตรวจร่างกายวัดส่วนสูง พบว่า สูง < 140 cm
ช่องเชิงกรานแคบ และเล็กท่าทาง การเดิน พบว่า ท่าทางการเดินที่ผิดปกติ แสดงถึง ความผิดปกติของกระดูก เชิงกรานจาก อุบัติเหตุ หรือ
พิการแต่กำเนิด
การตรวจหน้าท้อง
ตรวจหน้าท้องประเมินความสูงยอดมดลูก เส้นรอบท้อง ส่วนนำการเข้าสู่ ช่องเชิงกราน ท่าและทรงของทารก ในครรภ์ มักพบศีรษะไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
การตรวจ ช่องเชิงกราน
ประเมิน ลักษณะช่องเชิงกรานโดยการตรวจ ภายนอก และ การตรวจ ภายใน
ทั้งช่องเข้า ช่องภายใน และช่องออก
5.Ultrasound
วัดศีรษะทารกในครรภ์ พบ biparital diameter
9.5-9.8 cm. ในทารกครบ กำหนด
ความผิดปกติของช่องทางคลอด
ส่วนที่เป็นกล้ามเนื้อและเอ็น
ปากช่องคลอด และฝีเย็บ ผิดปกติ เช่น
การตีบตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น เลือดคั่ง อาจเป็นแต่กำเนิด หรือ ภายหลังการผ่าตัด
การติดเชื้อ เนื้องอกหงอนไก่ Bartholin cyst
ช่องคลอด ผิดปกติ ตีบแคบ เช่น
มีผังผืดภายหลังการผ่าตัด ช่องคลอดการติดเชื้อ ภายในช่องคลอดเรื้อรังช่องคลอด ฉีกขาดจากการถูกข่มขืน ในวัยเด็ก มีเนื้องอก ของช่องคลอดการมีผนังกั้นในช่องคลอด
ปากมดลูกผิดปกติ ตีบแข็ง
แคบมาแต่กำเนิน หรือ ภายหลัง
เคยมีการฉีกขาด เคยผ่าตัด ปากมดลูกมาก่อน
ด้วยการจี้ไฟฟ้า จากการ เป็นเนื้องอกหงอนไก่ condyloma ทำให้ปากมดลูกเปิดขยาย ไม่ได้
ปากมดลูกบวม เกิดจาก ส่วนนำเคลื่อน
ต่ำลงมากด ปากมดลูก หรือ ระยะเบ่งคลอดหรือ
รายที่ MR ทำให้การไหลเวียนเลือดไม่สะดวก
มะเร็งปากมดลูก ทำให้การเปิดขยายปากมดลูก ล่าช้ากว่าปกติ
มดลูกอยู่ผิดที่ uterine displacement
6.1 มดลูก คว่ำหน้า anteflexion มดลูกย้อย
มาด้านหน้า ทำให้ Fetal pressure ไม่ดีส่วนนำ
ไม่เคลื่อนลง สู่อุ้งเชิงกราน
6.2 มดลูก คว่ำหลัง retroflexion
ทำให้แท้งTri2 ของการตั้งครรภ์บางรายต้องครรภ์ต่อได้ แต่มีการเปิดขยายของ ปากมดลูกล่าช้า
เนื้องอก Myoma uteri
Myoma uteri มักทำให้แท้ง
คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนดถ้าก้อนใหญ่ > 6cm. เกิดการคลอดติดขัด
Benign ovarian tumor ขัดขวาง
การเคลื่อนต่ำ ของทารก
การประเมินสภาพ
1.ซักประวัติการเจริญพันธุ์
การมีระดู การมีเพศสัมพันธ์ุ
ประวัติการคลอด การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด การเกิด อุบัติเหตุ
เหตุการผ่าตัด บริเวณช่องคลอด ฝีเย็บ อุ้งเชิงกราน
ตรวจร่างกายทั่วไป สัญญาชีพ
ตรวจอวัยวะ สืบพันธ์ุ ภายนอก รูปร่าง
ลักษณะ สี ก้อนหรือ สิ่งผิดปกติ
ตรวจภายใน เกี่ยวกับลักษณะ ช่องเชิงกราน
ช่องทางคลอด ผนังช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก ก้อน หรือสิ่งผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอด มีโอกาส คลอดยาก คลอดยาวนาน หรือ
คลอดติดขัด เนื่องจาก มีความผิดปกติของช่องเชิงกราน ส่วนที่เป็นกล้ามเนื้อ และเอ็น
ผู้คลอด และทารก มีโอกาส เกิดอันตราย
จากการคลอด คลอดยาวนาน หรือ คลอดติดขัด
ผู้คลอดมีโอกาส ได้รับการช่วยคลอด ด้วยสูติศาสตร์หัตถการหรือ การผ่าตัด เนื่องจากมีความ ผิดปกติของช่อง เชิงกรานส่วน ที่เป็นกล้ามเนื้อ และเอ็น
ผู้คลอด มีโอกาสเกิด อันตรายจาก การช่วยคลอด
ด้วยสูติศาสตร์ หัตถการหรือ การผ่าตัด
ประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำหากความก้าวหน้า
ประเมินการ หดรัดตัว ของมดลูก
ฟัง FHS ของทารก ในครรภ์ที่ผิดปกติรายงานแพทย์
รายที่มด ลูกคว่ำหน้าดูแลพันผ้าหน้าท้อง ประคองมดลูกไว้ให้กลับตำแหน่ง ปกติเพื่อให้การคลอดดำเนิน ไปตามปกติ
รายที่สามารถ คลอดทางช่องคลอด ได้ควรดูแลป้องกัน ภาวะขาดน้ำ ในผู้คลอด ภาวะขาด
ออกซิเจน ในทารก ช่วยเหลืออย่าง เหมาะสมตัดฝีเย็บ ให้กว้างเพียงพอ
รายที่ ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ควรเตรียม ร่างกายและ จิตใจเพื่อการผ่าตัด
คลอดทางหน้าท้อง
กระบวนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
1.ประเมินมารดา
V/S P> 90 /min R> 24 /min BP <90/60 mmHg
แสดงถึงภาวะตกเลือด รายงานแพทย์
เพื่อให้การช่วยเหลือทันทีสภาพร่างกายของมารดาเกี่ยวกับอาการเหนื่อยอ่อนเพลีย หมดแรงขาดน้ำ อาการเจ็บปวด และพฤติกรรมการเผชิญความเครียด ความสูงยอด มดลูก เส้นรอบท้อง มากกว่า40 cm. รายงานแพทย์ เพื่อให้การช่วยเหลือการหดรัดตัว ของมดลูก มักพบมดลูกหดรัดตัวถี่ รุนแรง และนานขึ้น ทุก 2-3นาที นาน 60-90 นาที ระวังมดลูก แตกสภาพจิตใจของ มารดา ความวิตกกังวลความกลัวต่อการคลอด มีผลทำให้ มดลูกหดรัดตัวน้อยประวัติ การคลอดใน ครรภ์ก่อน ระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด ระยะเวลาการเบ่งคลอดการใช้สูติศาสตร์ หัตถการช่วยคลอดการเกิด อุบัติเหตุลักษณะของเชิงกราน ช่องเช้าภายในและช่องออก
ประเมินทารก
ขนาด ส่วนนำ การเข้าสู่ ช่องเชิงกรานท่าและทรงของทารก ในครรภ์ การเคลื่อนต่ำ
การก้ม การหมุนภายในของทารก และ FHS
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ติดตามความ ก้าวหน้า ของการคลอดด้วย WHO pantograph
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอดมีโอกาส เกิดระยะคลอดยานาน
เนื่องจากเชิงกรานแคบ
ผู้คลอดและทารก มีโอกาส เกิดอัตราย
จากการคลอด ยาวนาน เนื่องจาก เชิงกรานแคบ
3.ผู้คลอด มีโอกาส เกิดอันตราย
ของช่องทางคลอด อ่อนเนื่องจาก ศีรษะทารกกดกับช่องเชิงกราน หรือได้รับ
การช่วยคลอด สูติศาสตร์ หัตถการ
ทารกมีโอกาส ขาดออกซิเจน เนื่องจาก
การคลอดยาวนาน
5.ผู้คลอด วิตกกังวล หรือ กลัว
เกี่ยวกับการคลอด ยาวนาน และการใช้สูติศาสตร์ หัตถการ ช่วยคลอด
กิจกรรม การพยาบาล
ตรวจการหด รัดตัว ของมดลูก ทุก 30 นาที -
1 ชม.โดยสังเกต ความรุนแรง ความถี่ลักษณะการหดรัดตัว รวมทั้งสังเกต
อการแสดง มดลูกใกล้แตก เช่น Bandl’s ring
ผู้คลอด ที่ถุงน้ำคร่ำแตก
จัดให้นอนพัก บนเตียง และทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุ ภายนอกเมื่อ สกปรก
รวมทั้งใส่ ผ้าอนามัยซับ น้ำคร่ำสังเกตลักษณะ
สี กลิ่นของน้ำคร่ำหากมีขี้เทา ออกมา ให้ออกซิเจน แก่มารดาและจดให้นอนตะแคงซ้าย
ประเมิน V/S q 4 hr.สังเกต ภาวะตกเลือด
ภาวะชัก หรือ การติดเชื้อ ในโพรงมดลูก
ตรวจการเปิด ขยายของปากมดลูก
รวมทั้งการบวม ของปากมดลูก และหนังศีรษะทารก ทุก 2 ชม. หากปากมดลูกเปิดช้า
ให้รายงานแพทย์ทันที
ตรวจดูการเคลื่อนต่ำและการหมุนภายในของส่วนนำโดยดูการก้มการmolding ถ้ามี molding มากอาจแสดงว่ากระดูกเชิงกราน กว้างไม่เพียงพอหากพบให้รายงานแพทย์ทันที
6.ติดตามความ ก้าวหน้า ของการคลอด ด้วย
WHO pantograph
FHS ทารก ทุก 30 นาที
และสอบถามการดิ้นของทารก
ดูแลให้ กระเพาะปัสสาวะ ว่างอยู่เสมอ
โดยกระตุ้น ให้ปัสสาวะทุก 2 ชม
ดูแลความ สุขสบายของ ร่างกาย
และบรรเทาความเจ็บปวด
ผู้คลอดที่กลัว และกังวลมากควร
อธิบายแผนการรักษา อยู่เป็นเพื่อนปลอบโยน ให้กำลังใจ บอกความก้าวหน้า
ของการคลอด เป็นระยะ
รายแพทย์พิจารณาการผ่าคลอด
ทางหน้าท้อง ตัองเตรียมร่างกายและจิตใจของผู้คลอด โดยการอธิบายความจำเป็น ของการรักษา การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัด
และเปิดโอกาสให้ซัก ถามข้อสงสัย