Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย…
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการดูแลผู้ป่วยนอก
2.การรายงานเหตุการณ์(Reporting)
การดำเนินการตอบสนอง(Response)
4.การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ(On Scene Care)
ประเมินเหตุการณ์(Scene Size Up)
การประเมินเบื้องต้น (Initial Assessment)
ตามหลัก ABCD
A: air way
Manual in –line จับศีรษะผู้ป่วยให้อยู่นแนว เดียวกับกระดูกสันหลัง)และนำhard collar มาใส่ให้กับน ำhard collar มาใส่ให้กับนำhard collar มาใส่ให้กับผู้ป่วยพร้อมๆกัน
Open Air wayจัดท่าHead Tilt, Chin Lift,ถ้าผู้ป่วยสงสัยเรื่องC-spineเท่านั้น
B: Breathing
ประเมินการหายใจ,ลักษณะของการหายใจลำบากใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ช่วยหายใจหายใจเร็วตื้น หน้าอกบุ๋ม(retraction)
C: Circulation
ประเมินหาจุดเลือดออกภาวะช็อคชีพจรCapillary refiling time ระดับความรู้สึกตัว
D :Disability
ประเมิน GCS
E: Exposure and Disability
การพลิกตัวผู้ป่วย แบบ Lod-roll เพื่อตรวจบริเวณหลังของผู้ป่วย คร่าวๆ ระหว่างนั้นนำ Spinal board มาเตรียมรอง ก่อนจะพลิกตัว
จากสถานการณ์ พบว่า ทีมทางการแพทย์ได้มีการประเมินเบื้องต้นของผู้ป่วยในที่เกิดเหตุก่อนที่จะนำมารักษาต่อที่รพ. แต่มีบุคลากรทางการแพทย์คนหนึ่งเธอได้ช่วยผู้ป่วยที่มี่ปัญหาการบาดเจ็บทางสมองและมีเลือดออกในเยื่อหุ้มสมอง เธอได้ทำการเจาะกะโหลกศีรษะ ซึ่งได้มีการประเมิน GCS มาก่อนแล้ว แต่เธอขาดการประเมินหลังการใส่ tube ลึกจนเกินไป และพบว่าผู้ป่วยมีการบาดเจ็บที่ทรวงอกร่วมด้วยทำให้เธอเสียชีวิต ซึ่งพบว่าการประเมินเป็นสิ่งจำเป็นและสำหรับอย่างมากสำหรับผู้ป่วยเพราะมันอาจจะหมายถึงชีวิตของเขา
การประเมินการไหลเวียนเลือดของหมอพบว่าผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ขา เลือดไปเลี้ยงอัยวะส่วนปลายน้อยลงจะต้องทำการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน ซึ่งบ่งบอกถึงการประเมินสภาพของผู้ป่วย การสังเกตถึงความเปลี่ยนแปลง
การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน(Detection)
การดูแลระหว่างการนำส่ง(Care on Transit)
การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม(Transfer to Definitive care)
จากสถานการณ์ ได้มีโทรศัพท์แจ้งเข้ามายังโรงพยาบาลว่ามีอุบัติเหตุรถบัสคว่ำ พยาบาลได้มีการสอบถามถึงจำนวนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและได้เตรียมพร้อมกับทีมทางการแพทย์ในการรับมือให้การช่วยเหลือ
การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
Triage
ประโยชน์
ช่วยลดความเครียด และเพิ่ม ความพึงพอใจของผู้ป่ วยและญาติ
ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจ
ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักกษาทันและเหมาะสม
ลดค่าใช้จ่าย
การแบ่งประเภท
การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ(Field Triage)
1.การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก(Disaster Triage)
Secondary Triage
การประเมินTriage revised trauma score (TRTS)
ประเมินจาก GCS ,SBP, RR
จากสถานการณ์เมื่อผู้ป่วยมาถึงรพ.จะมีกการแบ่งโซนการรักษาของผู้ป่วยตามการเจ็บป่วย
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
คะแนน 1 - 10 จัดเป็นสีแดง
คะแนน 11 จัดเป็นสีเหลือง
คะแนน 12 จัดเป็นสีเขียว
Primary Triage
START (Simple Triage and Rapid Treatment)
ผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ทำการเปิดทางเดินหายใจ ถ้ายังไม่หายใจสดำ แต่ถ้ากลับมาหายใจเป็นสีแดง
RR น้อยกว่า 30 ครั้ง /นาที คลำชีพจรไม่ได้ สีแดง
RR มากกว่า 30 ครั้ง /นาที สีแดง
RR น้อยกว่า 30 ครั้ง /นาที คลำชีพจรไม่ได้ ประเมินความรู้สึกตัวไม่ได้ ถ้าทำตามคำสั่งได้เป็นสีเหลือง
ผู้ป่วยที่สามารถเดินได้เองสีเขียว
JumpSTART ( ในเด็ก 1- 8 ปี)
ไม่หายใจเปิดทางเดินหายใจ ให้คลำชีพจร ถ้าไม่มีชีพจร สีดำ หากกลับมาาหายใจเอง สีแดง
ประเมินการหายใจน้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที หรือมากว่า 45 ครั้ง/ นาที สีแดง
ประเมินระดีบความรู้สึกตัว Alert = สีเขียว . Verbal= สีเหลือง ,Pain = สีเหลือง,Unresponsive = สีแดง
การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจำนวนไม่มาก (Prehospital Triage)
ใช้หลัก Triage sort
การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรศัพท์(Phone Triage)
การคัดแยกที่โรงพยาบาลในห้องฉุกเฉิน(Emergency Department Triage)
จากสถานการณ์พบว่า ทีมบุคลากรทางการแพทย์ได้เลือกให้การพยาบาลกับบุคคลที่มีอันตรายถึงชีวิตก่อน ส่วนผู้ป่วยที่สามารถเดินได้ หรือรอได้ ก็จะแบ่งไปรักษาตามความเหมาะสม
แบงตามอาการบาดเจ็บของผู้ป่วย่
สีเหลือง
ผู้ป่วยประเภทนี้ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ให้รักษาพยาบาลอย่างถูกต้องอาจทำให้สูญเสีย ชีวิตหรือพิการได้
สีแดง
ผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันทีไม่สามารถรอได้
สีเขียว
ผู้ป่วยนัดFollow Up หรือผู้ป่วยเดินได้สามารถรอการรักษาได้
สีดำ
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือมีโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
จากสถานการณ์ พบว่าเมื่อมีอุบัติเหตุหมู่ รถบัสงานแต่งคว่ำทางทีมบุคลากรทางการแพทย์เมื่อทราบข่าวก็มีการเตรียมความพร้อมที่จะช่วยเหลือ และได้คัดแยกผู้ป่วยตามการบาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษา
ระบาดวิทยาของผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
Immediate Deaths (การตายแบบฉับพลัน)
การตายสามารถป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้
อาจเกิดขึ้นในเวลาเป็นวินาทีถึงนาที
สาเหตุการตายเกิดจากการขาดอาการหายใจ เส้นเลือดขนาดใหญ่ฉีกขาดทำให้เกิดการเสียเลือดอยางมากหรือหัวใจได้รับการระทบอยางรุนแรง
Early Deaths
สามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ทำให้มีโอกาสรอดมากยิ่งขึ่้น
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง
สาเหตุการเสียชีวิตอาจเกิดจากเลือกออกในเยื่อหุ้มสมอง เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด มีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้ม ปอด ตับหรือม้ามแตก หรือมีการเสียเลือดอยางมาก
Late Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
สาเหตุการเสียชีวิตเกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด หรืออวัยวะภายในร่างกายล้มเหลว
อัตราการตายของผู้ป่วยกลุ่มนี้ขึ้นอยูก่บการดูฉลรักษาผู้ป่วยในช่วงแรก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ(pre-impact phase) ช่วยเหลือเบื้องต้น
ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase)
ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟู
ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ(post-impact phase)
การเตรียมแผนเพื่อรองรับสถานการณ์
หลักการเตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่
ประเภทของภัยพิบัติ
1.การแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ภัยพิบัติที่เกิดจากการกระทำมนุษย์
ภัยจากเทคโนโลยีต่างๆ
2.การแบ่งตามสถานการณ์
ภัยจากเทคโนโลยีต่างๆ
ภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน
ภัยพิบัติในภาวะสงคราม
การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสาคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วย
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีอาการมากหรือหนักกวาเดิม
สามารถส่งต่อผู้ป่วยได้อยางปลอดภัย
บทบาทของพยาบาลชุมชน
ด้านการป้องกัน
ด้านการรักษา
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากผ่นภาวะวิกฤต
จากสถานการณ์ พบว่าทีมแพทย์และพยาบาลได้ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บไม่ให้มีอาการที่รุนแรงขึ้นและสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานของผู้ป่วยได้ตามแผนการรักษา
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
การช่วยฟื้นคืนชีพ
การประเมินความปลอดภัยของสถานที่ที่เกิด
2.ประเมินผู้ป่วย
เรียกขอความช่วยเหลือ EMS
ประเมินการหายใจและชีพจร
5.การกดหน้าอก
6.การเปิดทางเดินหายใจ
การช่วยหายใจ
การช็อคไฟฟ้าด้วยเครื่องช็อคไฟฟ้าอัตโนมัติ
การอุดกั้นทางเดินหายใจ
การอุดกั้นบางส่วน(partial obstruction)
อาการที่สามารถพบได้รักษา ได้แก่ เอามือกุมที่บริเวณคอ พูดไม่มีเสียง(aphonia) หายใจลำบาก(dyspnea) หรืออาจจะเสียชีวิตเฉียบพลันได้(sudden death)
การอุดกั้นแบบสมบูรณ์(complete obstruction)
อาการสามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ ไอแรงๆได้ อได้ยินเสียงหายใจหวีด(wheeze)ระหว่าง
การไอ
การพยาบาล
ผู้ใหญ่
chest thrusts
abdominal thrusts
ในเด็ก
1- 8ปี
การทำHeimlich maneuver
การทำchest thrusts
ตำ่กว่า 1 ปี
การทำback blows
การทำchest thrusts