Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 เรื่อง การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2…
บทที่ 8 เรื่อง การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2 ,3 และ 4 ของการคลอด
-
-
-
-
ก้อนที่1 บริเวณหัวเหน่าและหน้าท้องส่วนล่าง
ก้อนที่2 บริเวณขาข้างใกล้ตัวผู้ทำคลอด เริ่มตั้งแต่โคนขาถึง 2 ใน3 ของขาท่อนบน
ก้อนที่3 บริเวณต้นขาข้างไกลตัวผู้ทำคลอดโดยทำเช่นเดียวกับก้อนที่2
ก้อนที่4 บริเวณlabia minora ข้างที่ใกล้ตัวผู้ทำคลอดเริ่มตั้งแต่ข้างบนลงมาถึงฝีเย็บแล้วพลิกสำลี ใช้อีกด้านหนึ่งทำความสะอาด labia majora ข้างเดียวกัน เริ่มจากด้านบนลงด้านล่างและจากด้านในออกไปด้านนอก
ก้อนที่5 บริเวณlabia minoraและlabia majoraด้านไกลตัวผู้ทำคลอด ทำเช่นเดียวกับก้อนที่4
ก้อนที่6 บริเวณ Vestibule เริ่มจากด้านบนลงมาถึงรูทวารหนักและรอบๆ ทวารหนัก ภายหลังฟอกด้วยสำลีชุบนำ้ยาฆ่าเชื้อแล้ว ล้างด้วยสำลีชุบ 0.9% NSS อีกครั้งในลักษณะเดิม
-
-
2 ผู้ทำคลอดยืนอยู่ปลายเตียงด้านขาวของผู้คลอด ผู้ช่วยคลอดยืนอยู่ด้านซ้ายเพื่อช่วยฟังเสียงการเต็นหัวใจทารก ตรวจสอบการหดรัดตัว กระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อมีการหดรัดตัวมดลูก
3 สังเกตการเปลี่ยนผู้คลอดขณะเบ่งถ้งถุงนำ้ทูนหัวยังไม่แตกอาจแตกในระยะนี้หรือผู้ทำคลอดเป็นคนเจาะ ผู้ช่วยคลอดต้องฟังเสียงหัวใจทารกทันทีที่ถุงนำ้แตก สังเกตดูลักษณะสีของนำ้คลำ่ ถ้านำ้มีสีเหลืองปนเขียวเนื่องจากมีขี้เทา(Meconnium) ปนอยู่ แสดงว่าทารกอาจมีอาการขาดออกซิเจน ต้องรีบช่วยให้การคลอดสิ้นสุดเร็ว
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-