Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่ …
บทที่ 3
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉินอุบัติเหตุหมู่
และการบรรเทาสาธารณภัย
การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การช่วยเหลือผู้ป่วย หรือผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บ
ทั้งทางด้ายกาย และ อารมณ์ ในเบื้องต้น
โดยพยาบาลหรือบุคคลากรทางการแพทย์ที่ ผ่านการฝึกอบรม จนเกิดความชำนาญ ก่อนส่งผู้ป่วยไป
โรงพยาบาลหรือก่อนการ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์
วิเคาาะห์จากหนัง หลังจากเกิดอุบัติเหตุผู้ป่วยแต่ละรายได้ถูกส่งตัวไปรับการรักษากับบุคคลากรทางการแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญและชำนาญในแต่ละโรคที่แตกต่างกันอย่างรวดเร็ว ทำให้ปผู้ป่วยแต่ละรายพ้นขีดอันตราย
ความสำคัญของการให้
พยาบาลฉุกเฉิน
2.สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วย
หรือผู้บาดเจ็บมีอาการมาก
หรือหนักกว่าเดิม
1.สามารถรักษาชีวิต
ของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้
จากการดูหนัง การให้การพยาบาลฉุกเฉินก่อนที่จะนำส่ง โรงพยาบาลสามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยได้แต่ต้องทำด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ
3.สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
4.สามารถส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
บทบาทหน้าที่ของ
พยาบาลชุมชน
จะต้องเกี่ยวข้องกับ
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
1.ด้านการป้องกัน ต้องจัดระบบ วางแผน
และเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนบุคลากรให้พร้อมสามารถให้บริการได้รวดเร็วเหมาะสมทันเหตุการณ์
วิเคราะห์จากหนังที่เกิดสถานะการณ์อุบัติเหตุหมู บุคลากรทางการแพทย์มีความรวดเร็ว มีการวางแผน ทำงานเป็นทีม และมีอุปกรณ์ที่พร้อม ทำให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
3.ด้านการรักษาพยาบาล ต้องประเมินและจำแนกประเภทผู้ป่วยและผู้บาดเจ็บเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้ การช่วยเหลือต้องทำได้ทั้งในสถานที่เกิดเหตุ ขณะการเคลื่อนย้าย และเมื่อผู้ป่วยมาถึงหน่วยฉุกเฉิน
2.ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต
การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย
4.ช่วยลดความเครียด และเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติในการได้รับทราบว่าตนเองได้เข้าสู่ระบบการดูแลรักษาพยาบาล
1.ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจรักษาผู้ป่วยโดยแพทย์
2.ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันการณ์และเหมาะสม
3.การลดค่าใช้จ่าย เพราะผู้ป่วยเจ็บหน้าที่ได้รับการักษาก่อนจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเมื่อรอคอยในการอยู่ในห้องฉุกเฉินแล้วอาการรุนแรงมากขึ้น
วิเคราะห์จากหนัง แพทย์ศัลยกรรม ที่ชื่อฌอน ได้มีการสังเกตและมีการตรวจคัดกรองที่ว่องไวและรวดเร็ว จึงสามารถทำให้ผู้ป่วยที่มาร์โคได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดทันทวงที
หมายถึง การค้นหา คัดแยกในทางการแพทย์ triage หรือการคัดกรองผู้ป่วย หมายถึงการซักประวัติและการตรวจ อย่างรวดเร็ว เพื่อการคัดแยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่ม หรือประเภทตามลำดับความรุนแรง (ร้ายแรง)ของการเจ็บป่วยนั้น
ระบาดวิทยาของผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
Immediate Deaths (การตายแบบฉับพลัน)
อาจเกิดขึ้นในเวลาเป็นวินาที ถึงนาที
Early Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง
Late Deaths
ระยะเวลาในการเสียชีวิตอาจเป็นวันถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
การแบ่งประเภท
ของการ Triage
การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ (Field Triage)
การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก
หมายถึงสถานการณ์ที่เกินขีดความสามารถของหน่วยตอบสนอง เช่น จำนวนผู้บาดเจ็บหรือความรุนแรงของการบาดเจ็บนั้นเกินกว่าศักยภาพของทีมกู้ชีพที่ไปยังจุดเกิดเหตุ
1.START
(Simple Triage and Rapid Treatment)
เป็นการประเมินผู้ป่วยอย่างรวดเร็วโดยการประเมิน การหายใจ (respiratory)
การไหลเวียนโลหิต (perfusion)
และระดับความรู้สึกตัว (mental status)
กลุ่มสีเขียว ( walking woundedหรือminor)
เป็นกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มถัดไปที่ได้รับการรักษาถัดจากสีเหลือง
ผู้ป่วยที่สามารถเดินออกมาจากที่เกิดเหตุได้ด้วยตัวเอง โดยให้ผู้ป่วยเดิน
ออกมายังบริเวณที่ปลอดภัย
กลุ่มสีดำ (deceased)
เป็นกลุ่มที่ไม่ต้องท าการช่วยเหลือเนื่องจากโอกาสรอด
ชีวิตน้อยมาก
ผู้ป่วยที่ไม่หายใจให้ท าการเปิดทางเดินหายใจ โดยวิธีการ Head-Tilt/ Chin-Lift แต่ถ้าผู้ป่วยกลับมาหายใจหลังเปิดทางเดินหายใจให้จัดเป็นกลุ่มสีแดง (immediate)
กลุ่มสีแดง (immediate)
ต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน
อัตราการหายใจน้อยกว่า 30 ครั้งต่อนาที ให้ประเมินชีพจรที่ข้อมือ (radialpulse) ถ้าคลำชีพจรที่ข้อมือไม่ได้ หรือ capillary refill มากกว่า 2 วินาที
กลุ่มสีเหลือง
เป็นกลุ่มผู้ป่วยถัดไปที่ต้องกการรักษาพยาบาล
ตราการหายใจน้อยกว่า 30 ครั้งต่อนาที ให้ประเมินชีพจรที่ข้อมือ
(radialpulse) ถ้าคลำชีพจรที่ข้อมือไม่ได้ หรือ capillary refill มากกว่า 2 วินาที แต่สามารถทำตามคำสั่งได้
JumpSTART
ใช้ในเด็กอายุ 1-8 ปี
กรณีผู้ป่วยเด็กที่ไม่หายใจหลังจากเปิดทางเดินหายใจแล้ว
ให้คลำชีพจรก่อน ถ้าไม่มีชีพจรให้เป็นสีดำถ้ามีชีพจรให้ช่วยหายใจ 5 ครั้ง
ถ้าผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เองให้เป็นสีแดงแต่หลังจาก
ช่วยหายใจถ้าผู้ป่วยไม่หายใจด้วยต้นเองให้เป็นสีดำ
2.การประเมินการหายใจใช้น้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 45 ครั้ง/นาที
จึงจัดเป็นกลุ่มสีแดง
3.การประเมินการรู้สึกตัวในเด็กใช้เป็น
A = Alert = สีเหลือง
P = Pain ตอบสนองต่อความเจ็บป่วยอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
U = Unresponsive ไม่ตอบสนอง
ต่อการกระตุ้น = สีแดง
V = Verbal ตอบสนองต่อเสียงเรียกอย่างเหมาะสม = สีเหลือง
2.การคัดแยกตามหลักของ
Major Incident MedicalManagement
andSupport (MIMMS)
ทำการคัดแยกครั้งแรก
(Primary Triage)
โดยใช้Triage sieve
1.ผู้ป่วยที่สามารถเดินได้ ให้ผู้ป่วยเดินออกจากที่เกิดเหตุ และจัดผู้ป่วยกลุ่ม สีเขียว เป็นผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง สามารถรอได้นาน 24 ชั่วโมง
2.หลังจากนั้นทีมกู้ชีพจะเข้าไปประเมินผู้ป่วยที่ไม่สามารถเดินได้ โดยการประเมินทางเดิน
หายใจ (air way)
3.ผู้ป่วยที่สามารถหายใจได้ ให้ประเมินอัตราการหายใจ (Breathing) โดยถ้าหายใจน้อยกว่า10 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 30 ครั้ง/นาที ให้จัดผู้ป่วยกลุ่ม สีแดง
4.ถ้าผู้ป่วยหายใจ 10-29 ครั้ง/นาที ให้ประเมินการไหลเวียน (Circulation) โดยการตรวจCapillary refill โดยการกดบริเวณเล็บของผู้ป่วยนาน 5 วินาทีแล้วปล่อย และตรวจชีพจร ถ้า Capillaryrefill มากกว่า 2 วินาที หรือชีพจรมากกว่า 120 ครั้ง/นาที ให้จัดอยู่ในกลุ่มสีแดงถ้า Capillary refill น้อยกว่า 2 วินาที หรือชีพจรน้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที ให้จัดอยู่ในกลุ่ม สีเหลือง
การคัดแยกครั้งที่สอง(Secondary
Triage) โดยมีการทำ Secondary Triage ก่อนจะนำผู้ป่วยเข้าไปยังจุดรักษาพยาบาล(Treatment area)
คะแนน 1-10: จัดเป็นT1 สีแดง
คะแนน 11 : จัดเป็นT2 สีเหลือง
คะแนน 12 : จัดเป็นT3 สีเขียว
จากการดูหนัง หลังจากที่บุคลากรทางการแพทย์รับแจ้งว่ามีอุบัติเหตุหมู่เกิดขึ้น ก็ได้มีการสั่งให้บุคคลากรทางการแพทย์จัดเตรียมห้องสำหรับการคัดแยกประเภทของผู้ป่วย และมีการทบทวนการจำแนกประเภทของผู้ป่วยก่อนที่ผู้ป่วยจะมาถึงโรงพยาบาล
2.การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจำนวนไม่มาก (Prehospital Triage)
ประเภทสีแดง หมายถึง ผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่จำเพาะเจาะจงทันทีไม่สามารถรอได้
ประเภทสีเหลือง หมายถึง ผู้ป่วยประเภทนี้ถ้าปล่อยทิ้งไว้ไม่ให้การดูแลรักษาพยาบาลอย่างถูกต้อง ก็อาจทำให้สูญเสียชีวิตหรือพิการได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง ผู้ป่วยประเภทนี้จะมีอาการหรืออาการแสดงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
ประเภทสีเขียว ผู้ป่วยนัด Follow Up หรือผู้ป่วยเดินได้ สามารถรอการรักษาได้
ประเภทสีดำ เป็นกลุ่มที่ผู้ป่วยเสียชีวิต
หรือมีโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
การดูแลผู้บาดเจ็บ
ในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ขั้นตอนในการดูแลผู้ป่วยนอก
1.การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ
หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Detection)
2.การรายงานเหตุการณ์/
การแจ้งของความช่วยหลือ (Reporting)
บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ที่ศูนย์สั่งการ
พนักงานรับแจ้งเหตุ หรือ พรจ. (Call Taker)
ผู้ประสานงานปฏิบัติการฉุกเฉิน หรือ ผปป.
(Assistant EMD)
ผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน หรือ ผจป.
(Emergency Medical Dispatcher: EMD)
ผู้กำกับการปฏิบัติการฉุกเฉิน หรือ ผกป.
(Supervisor EMD)
แพทย์อำนวยการ (Medical Director)
เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน
166 (สำหรับกรุงเทพมหานคร)
ซึ่งเป็นเบอร์โทรศัพท์กลางของ “ศูนย์เอราวัณ”
1669 (สำหรับกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด)
ซึ่งเป็นเบอร์โทรศัพท์กลาง
ของ “ศูนย์นเรนทร”
วิเคราะห์จากหนัง ได้มีการโทรศัพท์ฉุกเฉินมาที่ รพ. ทำให้คณะบุคลากรได้มีการเตรียมพร้อมล่วงหน้าเมื่อผู้ป่วยมาถึงก็สามารถเข้ารับการรักษาได้อย่างรวดเร็ว
3.การดำเนินการตอบสนอง (Response)
การส่งทีมแพทย์ฉุกเฉินที่อยู่ใกล้และมีศักยภาพเหมาะสมที่สุดออกทำการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
4.การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care)
ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up)
การประเมินเบื้องต้น
(Initial Assessment)
ทางเดินหายใจและกระดูกต้นคอ
(Airway and C-spine)
การหายใจ (Breathing)
การไหลเวียน (Circulation) เป็นการประเมินหาจุดเลือดออก ภาวะช็อค
ระดับความรู้สึกตัว (Disability) โดยประเมิน GCS
บาดแผลตามร่างกาย และกระดูกแขนขา
5.การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on Transit)
6.การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม
( Transfer to Definitive care)
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น(CPR)
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเกิดนอกโรงพยาบาล
(Out-of-hospital cardiac arrest: OHCA)
1.การรับรู้ภาวะหัวใจหยุดเต้น และการแจ้งระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
2.การทำCPR ที่มีคุณภาพสูงโดยทันที
(Immediate high-quality CPR)
การเริ่มทำ CPR ทันทีสามารถเพิ่มโอกาสรอดชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้น 2-4 เท่า
3.การกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว
(Rapid defibrillation)
การกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอย่างรวดเร็วภายในเวลา 3-5 นาที หลังจากที่ผู้ป่วยหมดสติสามรถ
4.ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐานและขั้นสูง
(Basic and advanced emergencymedical services)
การช่วยฟื้นคืนชีพชั้นสูงและการดูแลภายหลังภาวะหัวใจหยุดเต้น (Advanced life supportand post arrest care)
ห่วงโซ่ของการรอดชีวิตส าหรับภาวะหัวใจหยุดเต้นที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล (In-Hospitalcardiac arrest: IHCA)
1.การเฝ้าระวังและการป้องกันภาวะหัวใจหยุดเต้น
2.การรับรู้ภาวะหัวใจหยุดเต้นการและการแจ้ง EMS
3.การทา CPR ที่มีคุณภาพสูงโดยทันที
4.การกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว
5.การช่วยฟื้นคืนชีพชั้นสูงและการดูแลภาย
หลังภาวะหัวใจหยุดเต้น
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
(Basic life support; BLS)
1.ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ
2.ประเมินผู้ป่วย
ตบที่หัวไหล่ของผู้ป่วย เบาๆ พร้อมตะโกนถามว่า “คุณๆเป็นอย่างไรบ้างคะ (ครับ)” เพื่อประเมินการตอบสนองของผู้ป่วย ควรทาอย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บบริเวณกระดูกต้นคอ
3.เรียกขอความช่วยเหลือจาก EMS ทันที
โทร.1669
4.ประเมินการหายใจและชีพจร
5.การกดหน้าอก
6.การเปิดทางเดินหายใจ
7.การช่วยหายใจ
ใช้อัตราการกดหน้าอก 30 ครั้งต่อการช่วยหายใจ 2 ครั้ง (30:2) โดยการช่วยหายใจ 2 ครั้งไม่ควรใช้เวลารวมกันเกิน 10 วินาที
8.การช็อกไฟฟ้าหัวใจโดยใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจแบบอัตโนมัติ
สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นในทางเดินหายใจ
(Foreign body airway obstruction(choking))
การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น
1.การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกันบางส่วน
ควรปล่อยให้ไอเอาสิ่งแปลกปลอมออกมาเอง และกระตุ้นให้ไอแรงๆ
2.การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นโดยสมบูรณ์
หากผู้ป่วยอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป ยังไม่สติอยู่ให้ช่วยด้วยวิธีการตบหลัง (back blow) การรัดกระตุกใต้ลิ้นปี่ (abdominal thrust) และกดกระแทกที่หน้าอก (chest thrust)
3.การรักษาภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นในผู้ส าลักที่หมดสติ
ควรประคงผู้ส าลักนอนกับพื้น เรียกหน่วย EMS ทันที แล้วเริ่ม CPR (กดหน้าอก) ทันทีโดยไม่
ต้องคล าชีพจร ท าการกดหน้าอก 30:2 ในแต่ละครั้งที่เปิดทางเดินหายใจระหว่างการท า CPR
การทำ abdominal thrusts
หรือ Heimlich maneuver
กำมือหันด้านนิ้วหัวแม่มือเข้าหาผู้ป่วย วางมือเหนือสะดือเล็กน้อยโดยอ้อมจากด้านหลังใช้มืออีก
ข้างการอบมือข้างเดิม แล้วออกออกแรงดันท้องของผู้ป่วยไปทางด้านศีรษะทันที
กรณีที่ผู้สำลักอ้วนมาก หรือเป็นหญิงท้องแก่ ให้ทำchest thrust โดยใช้มือโอบรอบบริเวณหน้าอกแทนพึงระวังว่าการทำabdominal thrust
หลักกการเตรียมรับ
ผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่
แนวทางการปฏิบัติในระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ
1.การประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติ
2.การจัดทำแผนหรือร่วมจัดทำแผนรับภัยพิบัติ
แนวทางในการปฏิบัติในระยะเกิดภัยพิบัติ
1.การประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้น
2.ประกาศใช้แผนและประเมินความพร้อมรับสถานการณ์ภัยพิบัติ
3.ปฏิบัติการให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
4.การประสานงานเพื่อช่วยเหลือและส่งต่อผู้ประสบภัย
5.จัดทำทะเบียนบันทึกเหตุการณ์และรายงานเหตุการณ์ภัยพิบัติ
6.การประเมินสถานการณ์
แนวทางการปฏิบัติในระยะหลังเกิดภัยพิบัติ
1.การประเมินสถานการณ์หลังเกิดภัยพิบัติ
การช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์
การจัดทำบันทึกรายงาน
การประสานงานกับแหล่งสนับสนุน
5.การประเมินผลการปฏิบัติการในสถานการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้น
บทบาทหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุข ในการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัยพิบัติ
ให้การช่วยเหลือแก่ผู้รอดชีวิต และครอบครัวของผู้ประสบภัยที่ต้องการความ
จำแนกบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อ
การมีอาการผิดปกติทางจิตใจในอนาคต
ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนแก่เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัย บรรเทาทุกข์ และอาสาสมัครต่างๆ
ให้ความรู้แก่ครอบครัวและกลุ่มคนในชุมชน
ส่งเสริมให้บุคคลและชุมชน สามารถฟื้นฟูคืนสู่สภาพปกติ
ผสมผสานบริการสุขภาพจิตเข้ากับบริการอื่นๆ เพื่อขยายในครอบคลุม และกว้างขวางมากขึ้น
ให้ความรู้แก่พนักงานของรัฐ ผู้บริหาร และบุคคลากรที่รับผิดชอบในการบรรเทาทุกข์ เกี่ยวกับข้อระวังด้านสุขภาพจิตในกระบวนการบรรเทาทุกข์
หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
การตอบสนองทางการแพทย์ในภาวะภัยพิบัติ
1.การเตรียมความพร้อม (preparation)
1.การวางแผน (plan) การตอบสนองต่อภัยพิบัติต้องมีการวิเคราะห์ความเสี่ยง
2.การจัดหาอุปกรณ์ (Equipment)
3.การจัดอบรม (Training)
วิเคราะห์จากหนัง เมื่อบุคคลากรทางการแพทย์รับทราบว่าเกิดอุบัติเหตุหมู่ ก็ได้มีการเตรียมความพร้อม ทั้งตัวบุคคล และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ช่วยเหลือผู้ป่วย ซึ่งทุกคนทำงานทีม มีลำดับขั้นตอนในการทำงาน ทำให้การรักษาเป็นไปอย่างรวดเร็วมาก
2.การตอบสนองในภาวะภัยพิบัติ (Response)
1.การควบคุมและระบบสั่งการ
(Command and Control)
ระบบบัญชาการสถานการณ์
1.ส่วนบังคับบัญชา (Command) มีหน้าที่ในการบริหารจัดการเหตุการณ์ภาพรวมทั้งหมด มีหน้าที่ในการตัดสินใจเด็ดขาดในสถานการณ์
2.ส่วนวางแผน (Planning)
ผู้บัญชาการสถานการณ์มีหน้าที่ในการวางแผนการปฏิบัติงานและจัดทำการจัดทำ
แผนปฏิบัติการในสถานการณ์
3.ส่วนปฏิบัติการ (Operations)
เป็นทีมที่ทำหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งของส่วนบังคับบัญชา
4.ส่วนสนับสนุน (Logistic) เป็นส่วนที่ท าหน้าที่สนับสนุนในการจัดหาบุคลากร สิ่งอeนวยความสะดวกและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน
5.ส่วนงบประมาณและการบริหาร (Finance/ Administration) มีหน้าที่ดูแลด้านการบริหารเงิน การจัดซื้อ และเงินบริจาค รวมไปถึงดูแลด้านค่าตอบแทนและค่าแรงให้กับผู้ปฏิบัติการ
2.ความปลอดภัย (Safety)
ทีมปฏิบัติการต้องทำงานในจุด Cold zone เท่านั้นบุคลากรที่เข้าไปทำงานใน Hot zone
3.การสื่อสาร (Communication)
Major incident (ลักษณะของเหตุกาณ์ที่เกิด)
Exact Location (ตำแหน่งที่เกิดเหตุ)
Type (ชนิดของเหตุการณ์)
Hazard (การปนเปื้อนสารเคมี)
Access (การเข้าถึงจุดเกิดเหตุ)
Number of casualties
(จำนวนผู้ประสบเหตุ)
Emergency service
(หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่แล้ว)
4.การประเมิน (Assessment)
ต้องประเมิน'สถานการณ์อย่างรวดเร็วเพื่อประเมินจำนวนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ และความรุนแรงอย่างคร่าวๆ
5.การคัดแยกผู้บาดเจ็บ (Triage)
6.การรักษา (Treatment)
จะเน้นการลำเลียงผู้ป่วยออกจาก
จุดเกิดเหตุให้เร็วที่สุด