Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย…
การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
1.การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสำคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยมีอาการหนักกว่าเดิม
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถรักษาชีวิตของผู้ป่วยได้
สามารถส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย
ในภาพยนตร์ทีมแพทย์และพยาบาลมีการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากรถบัสได้อย่างรวดเร็วและไม่มีอาการหนักกว่าเดิม บรรเทาจากอาการเจ็บปวดให้กับผู้บาดเจ็บได้ทันที
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลฉุกเฉิน
ด้านการรักษาพยาบาล
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจากการผ่านภาวะวิกฤต
ด้านการป้องกัน
2.การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ระบาดวิทยาของผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
Early Deaths
ระบบการแพทย์ดีสามารถช่วยให้มีโอกาสรอดมาก
Late Deaths
อัตราการตายขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาผู้ป่วย
Immediate Deaths
การตายที่ไม่สามารถรักษาได้แต่ป้องกันได้
การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ
การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก (Disaster Triage)
START (Simple Triage and Rapid Treatment)
1.ผู้ป่วยสามารถเดินได้เอง กลุ่มสีเขียว
2.ผู้ป่วยไม่หายใจให้ทำการเปิดทางเดินหายใจ ถ้าไม่หายใจเป็นสีดำ แต่ถ้ากลับมาหายใจเป็นสีแดง
3.อัตรการหายใจน้อยกว่า 30 ครั้ง/นาที คลำชีพจรไม่ได้ สีแดง
อัตราการหายใจมากกว่า 30 ครั้ง /นาที สีแดง
อัตราการหายใจน้อยกว่า 30 ครั้ง/oาที คลำชีพจรไม่ได้ ประเมินความรู้สึกตัวไม่ได้ สีแดง ถ้าทำตามคำสั่งได้สีเหลือง
JumpSTART
.ใช้ในเด็กอายุ 1-8 ปี
1.ไม่หายใจหลังเปิดทางเดินหายใจให้คลำชีพจร ถ้าไม่มีชีพจร สีดำ หากกลับมาหายใจเองสีแดง
ประเมินการหายใจใช้น้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 45 ครั้ง/นาที สีแดง
3.ประเมินระดับความรู้สึกตัว
A=Alert สีเหลือง
V=Verbal สีเหลือง
P=Pain สีเหลือง
U=Unresponsive สีแดง
การคัดแยกที่จุดเกิดเหตุ
ใช้หลัก Triage sieve
การคัดแยกก่อน (secondary Triage)
ประเมิน Respiratory rate,systolic blood pressure and Glagow coma scale
GCS 13-15,SBP มากกว่า 89, RR 10-29 =4
GCS 6-8,SBP 50-75,RR 6-9 =2
GCS 9-12,SBP 76-89,RR มากกว่า 29 =3
GCS 4-5, SBP 1-49, RR 1-5 = 1
GCS 3, SBP 0 , RR 0 = 0
คะแนน 1-10 เป็นสีแดง
คะแนน 12 สีเขียว
คะแนน 11 สีเหลือง
3.การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล
การดำเนินการตอบสนอง
การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ประเมินเหตุการณ์
ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นดดยรอบ เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติการ
ประเมิน หากเป็นผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ จำนวนตำแหน่งหรือผู้บาดเจ็บทั้งหมด
ประเมินเบื้องต้น
A-B-C-D-E
Breathing
Circular
Airway and C-spine
Disability
Exposure and Disability
การรายงานเหตุการณ์
การดูแลระหว่างการนำส่ง
การตรวจพบว่ามีผู้บาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม
ในภาพยนตร์มีโทรศัพท์แจ้งเข้ามายังโรงพยาบาล มีอุบัติเหตุรถบัส พยาบาลได้ถามจำนวนผู้ได้รับบาดเจ็บ และได้เตรียมความพร้อมกับทีม ได้ยืนพร้อมกันรับผู้ป่วย แยกผู้ป่วยออกตามระดับความรุนแรง และได้แยกความผิดชอบไปกับแต่ละคน
4.การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น CPR
การช่วยฟื้นคืนชีพ
1.ประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ
2.ประเมินผู้ป่วย
3.เรียกขอความช่วยเหลือ EMS
4.ประเมินการหายใจและชีพจร
5.การกดหน้าอก
6.การเปิดทางเดินหายใจ
7.การช่วยหายใจ
8.การช็อกไฟฟ้าโดยเครื่องช็อกไฟฟ้าอัตโนมัติ
ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจอุดกั้น
เด็กโต 1-8 ปี
รัดกระตุกที่ท้องเหนือสะดือใต้ลิ้นปี่ Heimlich maneuver หรือรัดที่หน้าอก chest thrust ถ้าผู้สำลักอ้วนมาก
เป่าลมเข้าปอดยังไม่ได้ ให้กดกระแทกที่ท้อง 5 ครั้ง
ผู้ใหญ่ 8 ปีขึ้นไป
รัดกระตุกที่ท้องเหนือสะดือใต้ลิ้นปี่ หรือรัดที่หน้าอก
ถ้าเป่าลมเข้าปอดยังไม่ได้อีกให้กดกระแทกท้อง 5 ครั้ง
เด็กไม่เกิน 1 ปี
การทำ back blows
การทำ chest thrusts
5.หลักการเตรียมรับผู้ป่วยอุบัติเหตุหมู่
วงจรการเกิดภัยพิบัติ
ระยะเกิดภัยพิบัติ
ช่วงเวลาในการเกิดภัยพิบัติเกิดความเสียหายทั้งแก่ชีวิต และทรัพย์สิน
ในภาพยนตร์ผู้โดยสารรถบัสได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุส่งผลให้ผู้โดยสารในบางคนได้เสียชีวิตแต่บางคนก็ได้รับความบาดเจ็บแตกต่างกันไป
ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ
หน่วยงานต่างๆต้องเข้าไปให้การช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์ ฟื้นฟูผู้ประสบภัน
ทีมทางการแพทย์ได้เข้าการช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและได้ทำการรักษาช่วยเหลือจนอาการทุเลาลง
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ
ช่งยเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน
ในภาพยนตร์มีการเตรียมความพร้อม มีการเตรียมอุปกรณ์ กำลังคนในการช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บ
6.หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดภัยพิบัติ
แนวทางการปฏิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติ
การประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติ
การจัดทำแผนหรือร่วมจัดทำแผน
แนวทางในการปฏิบัติในระยะเกิดภัยพิบัติ
แนวทางปฏิบัติในระยะหลังเกิดภัยพิบัติ
การฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย
ฟื้นฟูบูรณะสิ่งก่อสร้างและสาธารณูปโภค
การก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
การฟื้นฟูสุขภาพ