Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะ ฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่…
บทที่ 3 การช่วยเหลือผู้ใช้บริการในภาวะ ฉุกเฉิน
อุบัติเหตุหมู่ และการบรรเทาสาธารณภัย
การจัดบริการในหน่วยฉุกเฉิน
ความสำคัญของการให้พยาบาลฉุกเฉิน
สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ มีอาการมากหรือหนักกว่าเดิม
สามารถส่งต่อผู้ป่วยหรือ ผู้บาดเจ็บได้อย่างปลอดภัย
สามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดทรมานได้
สามารถรักษาชีวิตของ ผู้ป้วยหรือผู้บาดเจ็บได้
บทบาทของพยาบาลชมุชน
เกี่ยวกับการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ด้านการป้องกัน
ต้องจัดระบบวางแผน และเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนบุคลากร ให้พร้อมสามารถให้บริการได้รวดเร็วเหมาะสมกับเหตุการณ์ รวมทั้งความสะดวกของสถานที่สำหรับการดูแลชุนจะต้อง สามารถให้คำแนะนำในเรื่องของความปลอดภัยทั้งในบ้าน โรงเรียน และสถานที่สาธารณะ
ด้านการรักษาพยาบาล
ต้องประเมินและจำแนกประเภทผู้ป่วย และผู้บาดเจ็บเพื่อให้การช่วยเหลือ เบื้องต้นได้ การช่วยเหลือต้องทำได้ทั้งใน สถานที่เกิดเหตุ ขณะการเคลื่อนย้ายและ เมื่อผู้ป่วยมาถึงหน่วยฉุกเฉิน
จาหหนังพยาบาลและแพทย์สามารถประเมินและจำแนกประเภทผู้ป่วย และผู้บาดเจ็บเพื่อให้การช่วยเหลือ เบื้องต้นได้ :<3:
ด้านการดูแลต่อเนื่องหลังจาก การผ่านภาวะวิกฤต
พยาบาลชุมชนจะต้องทำการเคลื่อนย้ายและส่งต่อผู้ป่วยได้อย่าง ปลอดภัย หรือในกรณีที่มีแพทยอ์นุญาตให้กลับบ้านได้ พยาบาล ชุมชนต้องให้คำแนะนำก่อนการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และวางแผนการเยี่ยมบา้น
การจำแนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ในทางการแพทย
์triage
หรือการคัดกรองผู้ป่วย หมายถึงการซัก ประวัติและการตรวจอย่างรวดเร็ว เพื่อการคัดแยกผู้ป่วยออกเป็นกลุ่ม หรือประเภทตามลำดับความรุนแรง (ร้ายแรง) ของการเจ็บป่วยนั้น
ประโยชน์ของการคัดกรองผู้ป่วย
• ช่วยลดความเครียด และเพิ่ม ความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติ ในการเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาพยาบาล
• ช่วยลดความล่าช้าในการตรวจ
• ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันและเหมาะสม
• การลดค่าใช้จ่าย
การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุออกเป็น3 ช่วง
Immediate Deaths (การตายแบบฉับพลัน)
Early Deaths - ระยะเวลาในการเสียชีวิตเป็นนาทีถึงชั่วโมง
Late Deaths - ระยะเวลาในการเสียชีวติอาจเป็นวัยถึงสัปดาห์หลังได้รับอุบัติเหตุ
การแบ่งประเภทของการ Triage
• การคัดกรองที่จุดเกิดเหตุ (Field Triage)
•การคัดแยกผู้บาดเจ็บจำนวนมาก (Disaster Triage)
จากหนังมีการจำแนกผู้บาดเจ็บตามแบ่งเป็นสีตามระดับความรุนแรงได้อย่างชัดเจน :<3:
•การคัดแยกผู้ป่วยที่มีจำนวนไม่มาก(Prehospital Triage)
• การคัดกรองผู้ป่วยทางโทรศัพท์(Phone Triage)
• การคัดแยกที่โรงพยาบาลในห้องฉุกเฉิน (Emergency Department Triage)
การดูแลผู้บาดเจ็บในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
1.การตรวจพบว่ามีเหตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Detection)
2.การรายงานเหตุการณ์ (Reporting)
คัดแยกระดับความรนุแรงของเหตุที่แจ้ง(Priority dispatch)
การให้คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นทางโทรศัพท์
Pre-arrival instruction
3.การดำเนินการตอบสนอง (Response)
4.การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (On Scene Care)
ประเมินเหตุการณ์ (Scene Size Up)
ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยรอบ เพื่อ ป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับ ผู้ปฏิบัติการเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความ ปลอดภัยของตนเอง ผู้ร่วมงาน ผู้ป่วย และ บุคคลอ่ืนๆ
การประเมินเบื่องต้น (Initial Assessment)
ในกรณีที่มีผู้บาดเจ็บเพียง 1-2 คน หรือ กรณี อุบัติเหตุหมู่ ที่เมื่อได้รับการคัดกรองแล้ว เข้าสู่ ขั้นตอนการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และส่งต่อ
ในกรณีผู้ป่วยจากการบาดเจ็บ จะเน้นการ Scoop and run คือ จะทำการรักษา ณที่เกิดเหตุให้น้อยที่สุด
การประเมินตามหลักABCDE
จากในหนัง จะมีฉากที่ได้ทำการประเมินผู้ป่วยตามหลักการดังกล่าว :<3:
หลัก MIST
M Mechanism of injury (กลไกการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น)
I Injury (มีการบาดเจ็บบริเวณใดบ้าง)
S Sign/ Symptom (มีอาการและการแสดงอย่างไร)
T Treatment (มีการให้การรกัษาเบื่องต้นที่จุดเกิดเหตุอย่างไร)
5.การดูแลระหว่างการนำส่ง (Care on Transit)
6.การนำส่งโรงพยาบาลทเี่หมาะสม ( Transfer to Definitive care)
Level IV ดูแลกู้ชีพได้เบื้องต้นเท่านั้น และทำการส่งต่อไปยัง โรงพยาบาลระดับสูงต่อไป
Level III มีแพทยเ์วชศาสตร์ฉุกเฉินและแพทย์เฉพาะทางอุบัติเหตุ สามารถทำการเอกซเรย์ไต้ตลอด 24 ชั่วโมง
Level II มีคุณสมบัติเหมือนในระดับ 3 โดยมีเพิ่มเติมคือ มีแพทย์ เฉพาะทางสาขาต่างๆ อย่างครบถ้วน ผ่าตัดฉุกเฉินได้ตลอด 24 ชม.
Level I มีคุณสมบัติเิหมือนในระดับ 2 มีระบบในการจัดการควบคุม การเกิดอุบุติเหตุ การป้องกันอุบัติเหตุและการให้ความรู้ประชาชนทั่วไป รวมถึงมีการรวบรวมข้อมลูเพื่อรายงานเป็นงานวิจัย
การดูแลผู้บาดเจ็บที่มีภาวะช็อคและการห้ามเลือดนอกโรงพยาบาล
ชนิดการช็อก
Hypovolemic shock หมายถึง ช็อกที่เกิดจากการสูญเสียน้ำหรือเลือด ซึ่งส่วนมากเป็นช็อคที่เกิดจากการเสียเลือด (Hemorrhagic shock
Distributive shock หมายถึง ช็อคที่เกิดจากการมีการขยายขนาดของหลอดเหลือดใหญ่ขึ้นโดยที่มีปริมาณน้ าเลือดเท่าเดิม มักพบในผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บของไขสันหลัง (Spinal cord injury) ซึ่งอาจเรียกกลุ่มนี้ว่า Neurogenic shock ซึ่งอาการช็อคเกิดจากการที่ระบบประสาท sympathetic ถูกรบกวนทำให้สูญเสียความสามารถในการควบคุมให้มีการหัดตัวของหลอดเลือด
Cardiogenic shock หมายถึง ช็อคที่เกิดจากความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลงซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุภายนอกหัวใจ
การห้ามเลือดผู้บาดเจ็บที่เสียเลือดนอกโรงพยาบาลที่เกิดจากการเสียเลือดจากภายนอกร่างกาย
การกดบริเวณแผลโดยตรง (Direct pressure)
:<3:จากหนังมีผู้ป่วยบาดเจ็บที่ขาเลือดออกไม่หยุในตอนแรกได้มีการกดบริเวณแผลโดยตรงแต่เลือดไม่หยุดไหลจึงเปลี่ยนเป็นการทำรีโบลแทน
การทำTourniquet
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น (CPR)
Out-of-Hospital Cardiac Arrest ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นที่เกิดขึ้นนอกเขตการบริการของโรงพยาบาล
In-Hospital Cardiac Arrest ผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้นระหว่างการรักษาในโรงพยาบาล
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น(CPR)
Capnography
ขณะกดหน้าอก ผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออกจะ แสดงถึง Cardiac Output ที่ได้ด้วยวิธี โดย End-tidal CO2 (PETCO2)
ควรจะมากกว่าหรือ เท่ากับ 10 mmHg บ่งบอกถึงประสิทธิภาพการกดหน้าอกที่ดีทำให้มีการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอด หากขณะที่กดหน้าอก ปั๊มหัวใจ มีค่า PETCO2 มากกวา่ 40 mmHg อาจจะแสดงได้ถึง ROSC (Return Of Spontaneous Circulation)
ทางเดินหายใจ
จากหนัง มีคนกระเด็นจากรถ 30 ฟุต บาดเจ็บที่หน้าอกหลายจุด มีภาวะหายใจล้มเหลวในที่เกิดเหตุ การตอบสนองของม่านตาต่ำ แล้วพยาบาลถามว่าการทำCPRนานแค่ไหนแล้ว :<3:
Mechanism of obstruction
1.การอุดกั้นแบบสมบูรณ์ (complete obstruction)
เกิดจากการมีสิ่งแปลกปลอมไปอยู่บริเวณทางเข้ากลอ่งเสียง (laryngeal inlet) หรือหลอดลมคอ (trachea) ซึ่งจะทำให้ขาดอากาศหายใจ เป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องได้รับการรักษา
การอุดกั้นบางส่วน (partial obstruction)
การช่วยเหลือ เบื้องต้นกรณีอุดกั้นรุนแรง
-การรัดกระตุกหน้าท้อง abdominal thrusts (Heimlich maneuver) ในผู้หญ่และเด็กโต
-ตบหลัง (back blows)5 ครั้งและกดหน้าอก (chest thrusts)5ครัังในเด็กเล็ก อายนุ้อยกว่า 1ปี
-ทำการรัดกระตุกบริเวณหน้าอกของผู้ป่วยแทน (chest thrusts) ในคนตั้งครรภ์ หรืออ้วนมาก
-ทำการกดหน้าอกนวดหัวใจหรือ CPR ทันที่กรณีผู้ป่วยหมดสติ
การคิดคำนวณเปอรเ์ซ็นไฟไหม้
สูตร: ในปรมิาณ 4 มล.Xน้ำหนักตัว(กิโลกรัม) X% บาดแผลไฟไหม้
จากหนังนักกู้ภัยมีการประเมินระดับ Degree of burn และบอกข้อมูลแกแพทย์ :<3: คือผู้หญิง อายุ 26 แผลไฟไหม้ระดับ2-3 ที่คอหน้าอก แขนซ้าย
การบรรเทาสาธารณภัย
อุบัติภัยหมู่ (Mass Casualty Incident, MCI) หมายถึง
เหตุการณ์ที่ทำให้มีผู้บาดเจ็บหลายคนในคราวเดียวกัน โดยที่ผู้บาดเจ็บหลายคนนั้นอาจจะเป็นเพียงอุบัติภัยหมู่โรงพยาบาลใหญ่ เนื่องจากมีอุปกรณ์และศักยภาพในการจัดการได้ไม่ยาก แต่ใน ขณะเดียวกันอาจจะเป็นภัยพิบัติ(Disaster) ของโรงพยาบาลเล็กก็ได้
จากเหตุการณ์ในหนังถือว่าเป็นอุบัติเหตุหมู่จากรถบัสงานแต่งคว่ำทำให้มีผู้บาดเจ็บหลายคนในคราวเดียวกัน :<3:
ประเภทของภัยพิบัติ
การแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดหรือสาเหตุ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ(natural disaster)
ภัยพิบัติที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์
ภัยจากเทคโนโลยีต่างๆ
การแบ่งตามสถานการณ์
ภัยพิบัติในภาวะปกติ
ภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน
ภัยพิบัติในภาวะสงคราม
หลักการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุหมู่และการบรรเทาสาธารณภัย
ระยะก่อนเกิดภัยพิบัติ (pre-impact phase)
การเตรียมแผนเพื่อรองรับสถานการณ์ทั้งด้าน
บุคลากรสถานที่ยาและเวชภัณฑ์ต่างๆ
:<3:จากหนังมีการเตรียมสถานที่เพื่อเตรียมรับผู้ป่วยฉุกเฉิน
ระยะเกิดภัยพิบัติ (impact phase) ช่วยเหลือเบื้องต้นระยะนี้อาจจะใช้เวลามากน้อย เท่าไรขึ้นอยู่กับขนาดของ ภัยพิบัติที่เกิดข้ึน
:<3:จากหนังมีการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นตามการบาดเจ็บ
ระยะหลังเกิดภัยพิบัติ (post-impact phase) ช่วยเหลือด้านการบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูสภาพผู้ประสบภัย ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจัดอาชีพเพื่อบรรเทา ความเดือดร้อนทางด้านเศรษฐกิจด้วย
:<3:จากหนังมีการบรรเทาด้านจิตใจ คือจากผู้หญิงที่เป็นแผลไฟไหม้รู้สึกหมดหวังเพราะคิดว่าตนหน้าเกลียดไปแล้วใครจะอยากแต่งงานด้วยในอนาคต แพทย์ก็ช่วยปลอบและให้การบรรเทาทางด้านร่างกายคือการใช้หนังปลานิลในการฟื้นฟูแผลไฟไหม้