Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่,…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่
MALALIA
การติดเชื้อโปรโตซัว
การติดต่อ
Vector Transmision
Direct Transmision
การวินิจฉัย
ประวัติอาศัย/เดินทางจากพื้นที่ระบาดภายในระยะเวลา 1 เดือน
มีอาการไข้ และ/ ร่วมด้วยอาการ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อและข้อ หนาวสั่น เหงื่อออก เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thick and Thin Blood Smear
Rapid Diagnostic test
PCR
Paroxysm
ระยะหนาวสั่น (Cold stage) : อุณหภูมิร่างกายลดลง หนาวสั่น ปากและตัวสั่น ซีด ผิวหนังแห้งหยาบ เป็นเวลา 30-60 นาที ระยะนี้ตรงกับช่วงการแตกของเม็ดเลือดแดงที่มีเชื้อมาลาเรีย
ระยะไข้ตัวร้อน (hot stage) มีไข้สูง 40-41 องศาเซียลเซียส หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน ระยะนี้ใช้เวลา 1-4 ชั่วโมง
ระยะเหงื่อออก ( Sweating stage) เหงื่อออกจนชุ่มที่นอน ประมาณ 1-2 ชั่วโมง P. vivax, P. ovale ทำให้มีไข้ทุก 48 ชั่วโมง P. malariae ทำให้มีไข้ทุก 72 ชั่วโมง และ P. Knowlesi ทำให้มีไข้ทุก 24 ชั่วโมง
ภาวะไข้กลับ
ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อที่ยังคงอยู่ในตับ
2.ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อมาลาเรียถูกทำลายไม่หมด
การรักษา
ชัก ให้ยากันชัก
น้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจ DTX ทุก 6 ชม. รักษาน้ำตาลในเลือดต่ำ ให้ IV fluid ที่มีน้ำตาล
ซีด ให้ PRC
น้ำท่วมปอด นอนหัวสูง 45 องศา, ให้ออกซิเจน,ให้ยาขับปัสสาวะและลด/หยุดการให้สารน้ำ
ไตวาย ให้ HD
ภาวะเลือดเป็นกรด แก้ไขภาวะ Hypovolemia ในผู้ป่วยที่ขาดน้ำ ไม่ให้ NaHCO3
เลือดออกง่าย ประเมินภาวะเลือดออก สาเหตุ และให้ Blood component therapy
Shock ดูสาเหตุ ขาดน้ำ ขาดน้ำตาล หรือติดเชื้อแบคทีเรีย และรักษาความดันโลหิตให้ปกติ
Dengue hemorrhagic fever
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส เดงกี่ ( Dengue Virus ) ซึ่งเป็น RNA ไวรัส โดยมียุงลาย Aedes aegyti ตัวเมีย บินไปกัดคนที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก
เกิดจากไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู่ 4 สายพันธุ์ DEN1 DEN2 DEN3 DEN4
อาการสำคัญ
ระยะไข้
ไข้สูง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
มักมีหน้าแดง
2-7 วัน
อาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา
ระยะช็อค
ซึม
เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจร
เต้นเบาแต่เร็ว
ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย
24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น
รู้สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง
ปัสสาวะมากขึ้น
ผื่นแดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลำตัว
อาการติดเชื้อไวรัสแดงกี่
การติดเชื้อไข้แดงกี่ Dengue Fever
ไข้เหมือนการติดเชื้อไวรัสทั่วไป
ปรากฏอาการเพียง 2-3 วัน
2.ไข้เลือดออก [DHF]
ลักษณะเหมือนไข้แดงกิ่ว ตรงที่มีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดตามตัว หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน บางรายอาจจะมีอาการเจ็บคอ คอแดง แต่อาการที่แตกต่างคือ แน่นท้อง เจ็บชายโครงข้างขวา ปวดท้อง
ไข้เลือดออกแดงกี่ที่ช็อค DSS
ชีพจรเบาเร็ว มีการเปลี่ยนแปลงในระดับความดันโลหิตโดยตรวจพบมี Pulse pressure แคบน้อยกว่า 20 mmHg มือเท้าเย็น กระสับกระส่าย poor capillary refilled <2 วินาที พร้อมกับผลเลือดยืนยัน
การดูแลผู้ป่วย
ระยะไข้สูง
ให้น้ำเกลือประมาณ 24-48 ชั่วโมงเ
ติดตามความเข้มข้นของเลือด สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ
เช็ดตัวลดไข้
ผู้ป่วยที่ขาดน้ำไม่มากอาจจะให้น้ำเกลือแร่ชนิดผงละลายน้ำดื่ม
ระยะช็อค
ประเมินสัญญาณชีพ ถ้าไข้ลดเข้าสู่ระยะช็อค
ดูค่า pluse pressure ถ้าแคบกว่า 20 mmHg และ Blood pressure น้อยกว่า 90/60 ให้รายงาน
ประเมินปริมาณของปัสสาวะ
ประเมินอาการของภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการแน่นอึดอัดท้อง ประเมินอาการเลือดออกตามระบบต่างๆ
ระยะพักฟื้น
ประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูแลตนเอง
Rabies
เชื้อไวรัสเรบีส์ ระยะฟักตัว: 5 วัน ถึง 8 ปี แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเกิดขึ้นในช่วง 20-90 วัน
อาการ
ระยะที่ 1 อาการนำของโรค
อาการจำเพาะที่แพทย์สามารถใช้ในการวินิจฉัยโรคนี้ได้ คือ บริเวณบาดแผลที่ถูกกัดอาจมีอาการปวดเสียว คัน ชา เย็น หรือปวดแสบปวดร้อน
อาการต่าง ๆ ที่ไม่จำเพาะ เช่น มีไข้ต่ำ ๆ ประมาณ 38-38.5 องศาเซลเซียส หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน อาจมีอาการกระสับกระส่าย ลุกลี้ลุกลน วิตกกังวล มีความรู้สึกกลัว นอนไม่หลับ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
ระยะที่ 2 ปรากฏอาการทางระบบประสาท
เกิดขึ้นภายหลังระยะอาการนำของโรคประมาณ 2-10 วัน
แบ่งอาการออกเป็น 3 แบบ
แบบคลุ้มคลั่ง
แบบอัมพาต
แบบแสดงอาการไม่ตรงต้นแบบ
ระยะที่ 3 ระยะสุดท้าย
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ภายใน 1-3 วันหลังมีอาการไม่รู้สึกตัว
หมดสติและเสียชีวิตจากระบบหายใจและไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
การพยาบาลผู้ป่วย
รักษาบาดแผลตามลักษณะของแผลที่ถูกสัตว์กัด ใส่ยาฆ่าเชื้อ ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซ และอาจไม่เย็บแผลที่สัตว์กัดทันที
รับประทานยาปฏิชีวนะ
ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
ฉีดยาป้องกันแก่ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลม กดูแลรักษาไปตามอาการ เช่น ให้ยานอนหลับ ยาแก้ชัก ให้สารอาหารแบบน้ำเข้าทางหลอดเลือด และติดตามอาการ
คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า
การวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า
Direct fluorescent antibody test
RT-PCR
เมื่อนำศพไปผ่าพิสูจน์จะพบลักษณะของเซลล์ประสาทที่มีความจำเพาะกับโรคนี้มาก ที่เรียกว่า “เนกริบอดีส์'
Thyphiod
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไทฟอยด์
การติดต่อ
เกิดได้เฉพาะจากคนสู่คนเท่านั้น โดยผู้ที่ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะจะขับเชื้อออกมาทางอุจจาระเป็นหลัก
ระยะฟักตัวของโรค
3-21 วัน ซึ่งระยะเวลาที่สั้นหรือนานจะขึ้นอยู่กับปริมาณของเชื้อที่ได้รับเข้าสู่ร่างกาย
อาการ
ไข้สูง ปวดศรีษะ ไอแห้ง อ่อนเพลีย ปวดท้อง ท้องผูก ผื่นขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อจากของเหลวหรือเนื้อเยื่อในร่างกาย
(Widal test)
การตรวจหาสารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น CBC EKG
การดูแล/รักษา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
รักษาประคับประคองตามอาการ
เฝ้าระวังภาวะ Shock
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
การเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย ดื่มน้ำ/รัปประทานอาหารสะอาด ล้างมือทุกครั้งก่อนปรุง/รับประทานอาหาร ถ่ายอุจจาระถูกสุขลักษณะ
Cholera
ติดเชื้อแบคทีเรีย vebrio cholera
ฟักตัว 24 ชั่วโมง - 5 วัน
การติดต่อ
ทางตรง การรับประทานอาหาร และนํ้าดื่มที่ไม่สะอาดมีเชื้อ อหิวาต์ปะปน การสัมผัสอุจจาระของผู้ป่วย การถูกผู้ป่วยอาเจียนใส่
ทางอ้อม การใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย หรือได้รับเชื้อจากน้ำดื่มและอาหารที่ไม่สะอาด เช่น มีแมลงวันมาตอมโดยเชื้อโรคติดมากับแมลงวัน
อาการ
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนเล็กน้อย
ถ่ายเป็นน้ำรุนแรงโดยไม่มีอาการปวดท้อง
หากเป็นรุนแรงมาก ในช่วง 24 ชั่วโมงแรกปริมาณอุจจาระมากกว่า 1 ลิตร/ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการกระหายน้ำมาก ปากคอแห้ง ปัสสาวะน้อยเป็นสีเหลืองเข้มหรือไม่มีเลย ชีพจรเต้นเร็ว กระสับกระส่ายหรือซึม
การพยาบาล
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้ Oral Dehydrate Salt
เตรียมเตียงที่มีช่องตรงกลางสำหรับให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้
การให้ยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา
แยกผู้ป่วย
กักกันผู้สัมผัสโรค
ทำลายเชื้อโรคที่ติดมากับสิ่งขับถ่ายและภาชนะที่ผู้ป่วยใช้
การป้องกัน
ดื่มน้ำต้มสุกและสะอาด
ล้างมือให้สะอาด
รับประทานอาหารปรุงสุก
รับประทานผลไม้ที่ปอกเปลือกเอง
หลีกเลี่ยงอาหารดิบ
ระวังผลิตภัณฑ์เนยนม
Leptospirosis
การติดเชื้อ Leptospira อาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์ได้หลายชนิด ระยะฟักตัว 2- 20 วัน
สาเหตุการติดต่อ
การกินอาหาร ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เดินลุยน้ำ อาบน้ำที่ปนเปื้อนปัสสาวะวะ เชื้อจะเข้าทางบาดแผล ทางเยื่อบุจมูก ปากหรือตา
อาการที่สำคัญแบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด
ปวดศีรษะทันที มักจะปวด บริเวณหน้าผาก หรือหลังตา
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อ
ไข้สูง 28-40 องศา เยื่อบุตาแดง
อาการต่างๆอาจอยู่ได้ 4-7 วัน
หากมีอาการรุนแรงจะพบ ตาเหลือง ตัวเหลือง มีอาการคอแข็ง ตวามดันโลหิตต่ำ ต่อมน้ำเหลืองโต ตับ ม้ามโต
ระยะร่างกายสร้างภูมิ
หลังจากมีไข้ 1 สัปดาห์ โดยจะเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขึ้น
มีอาการ ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้อาเจียน
คอแข็งมีการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง
มีเชื้อออกมาในปัสสาวะ
การวินิจฉัย
จากประวัติการสัมผัสโรค และตรวจร่างกาย
CBC, ESR
ตรวจปัสสาวะ พบเม็ดเลือดแดง ไข่ขาวในปัสสาวะรวมทั้งพบน้ำดีbilirubin ในปัสสาวะ
ตรวจการทำงานของตับ
การทำงานของไตจะเสื่อม ค่า Creatinin, BUN
เพาะเชื้อจากเลือดสามารถเพาะได้ในระยะแรกของโรค
ตรวจทางภูมิคุ้มกัน สามารถตรวจพบหลังการติดเชื้อ 2 สัปดาห์
การพยาบาล
การให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน ยากันชัก
การให้สารน้ำและเกลือแร่
การพยาบาลเมื่อมีความรุนแรงของโรค
หากเกล็ดต่ำหรือเลือดออกง่ายก็อาจจะจำเป็นต้องให้เกล็ดเลือดหรือน้ำเหลือง
การแก้ภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
การแก้ปัญหาตับวาย ,ไตวาย
Tetanus
ติดเชื้อ Bacteria Clostridium tetani
ระยะฟักตัว 7-21 วัน
พยาธิสภาพ
เกิดจาก Ganglioside ที่ myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบและ neuronal membrane ในไขสันหลัง เข้าไปใน Axon ของ cell ประสาท ทำให้หลั่งสาร GABA มีผลยับยั้งต่อ Motor neuron ทำให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรง
อาการ
เวลา 1-7 วันกล้ามเนื้อกระตุกอย่างรุนแรงในบริเวณแผลทันที อาการกระสับกระส่าย ปวดศีรษะ และกล้ามเนื้อกระตุก หายใจลำบาก ติดเชื้อทางเดินหายใจในปอดและอาจทำให้เสียชีวิตได้
การวินิจฉัย
พบเชื้อ Clostridium tetani
ตรวจระดับของ serum antitoxin titer ถ้าพบว่ามีระดับที่มากกว่า 0.01 IU/mL
spatula test พบว่าผู้ป่วยกลับกัดไม้กดลิ้น จาก reflex spasm ของกล้ามเนื้อขากรรไกร
การพยาบาล
Control of spasms and autonomic dysfunction with sedation, muscle relaxants, and paralysis
Wound care with debridement and IV antibiotics
Neutralization of unbound tetanospasmin with tetanus immunoglobulin
Supportive care, including IV fluid hydration, nutrition, and prevention of complications
Scrub Typhus
ติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มริกเก็ตเซีย Rickettsia tsutsugamushi
ระยะฟักตัว คือ ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการประมาณ 6-20 วัน โดยเฉลี่ยประมาณ 10 – 12 วัน
พาหะ ตัวไรอ่อน (Chigger), หมัด(Flea)
อาการและอาการแสดง
Classical type
มีไข้สูง ปวดศีรษะมาก ปวดเมื่อยตามตัว ตาแดง
ตรวจพบแผลคล้ายโดนบุหรี่จี้ ตรงกลางเป็นสะเก็ดสีดำรอบๆจะแดง เรียก Eschar
ต่อมน้ำเหลืองโต บางรายมีตับม้ามโต
Mild type
มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัวบ้าง
อาจพบผื่น ตาแดงเล็กน้อย
ตรวจไม่พบ Eschar
อาจมีตับโตบ้าง
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย
อาการไม่แน่นอน
มีปวดศีรษะและมึนศีรษะบ้าง
ภาวะแทรกซ้อน
โรคตับอักเสบ ปอดอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมองกับสมองอักเสบ
ภาวะที่มีการแข็งตัวของก้อนเลือดกระจายไปทั่วร่างกาย
การทำงานของอวัยวะในร่างกายล้มเหลว
การวินิจฉัย
การตรวจทางน้ำเหลือง (Serological Test) Weil-Felix OX-K ให้ผลบวก titer >= 1:320
การตรวจ Complement-Fixation
การตรวจ Indirect Immunofluorescence Antibody: IFA
การวินิจฉัยด้วยเทคนิค Polymerase Chain Reaction: PCR
Meliodois
ติดเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei ชนิด Gram-negative bacilli
ระยะฟักตัว 1-21 วัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 9 วัน
รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยการสัมผัส ดิน หรือ น้ำที่มีการปนเปื้อนผ่านผิวหนังที่มีแผล หรือ หายใจเอาฝุ่นละออง รับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
อาการ
Localized Infection
Localized pain or swelling, Fever, Ulceration, Cellulitis , Abscess
Pulmonary Infection
Cough, Chest pain, High fever, Headache, Anorexia
Bloodstream Infection
Fever, Headache, Respiratory distress, Abdominal discomfort, Joint pain, Disorientation
Disseminated Infection
Fever, Weight loss, Stomach or chest pain, Muscle or joint pain, Headache, Seizures
Transmission
5.Perinatal
6.Human to Human
4.Breast milk
3.Inoculation
2.Ingestion
1.Inhalation
การรักษา/การพยาบาล
Surgical drainage
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้สารน้ำตามแผนการรักษา
แนวทางการควบคุมเชื้อ
การทำลายเชื้อ : ให้ทำลายเชื้อที่แยกได้จากเลือด และสิ่งส่งตรวจต่างๆ
การกักกัน,การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัส : ไม่จำเป็น
การแยกผู้ป่วย : ให้แยกผู้ป่วยไม่ให้ผู้อื่นสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ
วัณโรค
การแพร่ของเชื้อโรค Transmission เชื้อวัณโรคจะแพร่โดยเชื้ออยู่ในเสมหะที่มีขนาด 1-5 ไมครอน
สภาวะที่เอื้อต่อการติดเชื้อ
จำนวนเชื้อวัณโรคที่อยู่ในอากาศ
ความเข้มข้นของเชื้อโรคซึ่งขึ้นกับปริมาณเชื้อและการถ่ายเทของอากาศ
ระยะเวลาที่คนอยู่ในห้องที่มีเชื้อโรค
ภูมิคุ้มกันของคนที่สัมผัสโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
M africanum
M. microti
M. bovis
M. tuberculosiso var hominis
พยาธิสภาพ
รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เชื้อโรคจะเข้าที่เนื้อปอด แล้วแบ่งตัวในเซลล์มาโครฟาจของถุงลม เมื่อแบ่งตัวแล้วจะส่งไปยังระบบน้ำเหลืองที่ต่อมน้ำเหลืองขั้วปอด
อาการ
ไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ครั่นเนื้อครั่นตัว เหงื่อออกกลางคืน
ไอแห้งๆไม่มีเสมหะ ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคมักจะไม่มีเลือดออกในเสมหะนอกจากจะเกิดจากผู้ป่วยมีโรคอยู่เก่าเช่น ถุงลมโป่งพองจากวัณโรค เส้นเลือดที่ผนังฝีในปอดแตก การติดเชื้อราในปอด หรือการติดเชื้อแบคทีเรีย
การวินิจฉัยโรค
ประวัติการสัมผัสโรค, การตรวจเสมหะ ควรจะตรวจเสมหะอย่างน้อย 3 ครั้ง
การ Tuberculin test , การถ่ายรังสีปอด, การตรวจหาเชื้อวัณโรคโดยวิธี RNA and DNA amplification
การปฏิบัติตนเมื่อเป็นวัณโรค
กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งให้อย่างสม่ำเสมอจนครบกำหนด
ควรงดสิ่งเสพติดทุกชนิด เช่น เหล้า บุหรี่ ฯลฯ
สวมผ้าปิดจมูก เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น
เปลี่ยนผ้าปิดจมูกที่สวม
บ้วนเสมหะลงในภาชนะ หรือกระป๋องที่มีฝาปิดมิดชิด
จัดบ้านให้อากาศถ่ายเทสะดวก ให้แสงแดดส่องถึงและหมั่นนำเครื่องนอนออกตากแดด
นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี รหัสนักศึกษา 612501036 เลขที่ 34