Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง, image, image - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
ส่วนประกอบของหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ
หลอดเลือดหัวใจ
ลิ้นหัวใจ
การทำงานของหัวใจ
บนขวา ไป ล่างขวา แล้วมาที่ปอด ไป บนซ้าย ไป ล่างซ้าย ไปส่วนต่างๆของร่างกาย
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
โครงสร้งของหัวใจ
ความผิดปกติของการทำหน้าที่ การเสื่อม
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน ไข้รูมาติด
โรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหัวใจและหลอดเลือด
1.ภาวะหัวใจวาย (Heart failure)
2.โรคหลอดเลือดหัวใจ ประกอบด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โป่งพอง ภาวะเจ็บหน้าอก (Angina pectoris) กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
3.โรคจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ Mitral stenosis, Mitral regurgitation, Aortic stenosis และ Aortic regurgitation
4.การติดเชื้อที่ส่วนต่าง ๆ ของหัวใจ เช่น rheumatic fever myocarditis, Pericarditis และ Endocarditis
5) Coronary artery disease
6) MI
7) Cardiac arrest
8) Shock
9) Cardiac temponade
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจและการไหลเวียน
1.การซักประวัติ อาการสำคัญ การเจ็บหน้าอด เหนื่อยหอบ
2.การตรวจร่างกาย ท้องอืด คลำตับ เคาะตับดูภาวะตับโต ฟัง จังหวะ ความแรงและเสียงผิดปกติ
อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย
1.อ่อนล้า
2.ใจสั่น
3.เป็นลม
4.บวม
5.เขียว
6.เจ็บหน้าอก
7.หายใจลำบาก/เร็ว
8.อื่น เช่น Hypoxia,Neck,vein engorgement,cough
โรคเกี่ยวกับหัวใจ
สาเหตุหัวใจวาย
โรคร่วม/สารพิษ
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบหลอดเลือด
ระบบไฟฟ้า
พยาธิสภาพ
7.กล้ามเนื้อหัวใจหนาแข็งและโตโดยเฉพาะ ห้องล่างซ้าย
ุ6.น้ำและเกลือคั่งในร่างกาย
5.การเพิ่มแรงการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
4.หลอดเลือดแดงหดตัว
3.Cardiac output เพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง
2.อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่ม
1.กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
1.ภาวะหัวใจห้องล่างเวนตริเคิลวายด้านซ้ายและด้านขวา
2.ภาวะหัวจวายเฉียบพลันและเรื้อรัง
อาการของภาวะหัวใจวาย
1.ซีด เขียวคล้ำ (Cyanosis) จากการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายไม่ดี (Peripheral insufficiency)
2.บวมจากความดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น (Edema)
3.ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เหนื่อยง่าย (Activity intolerance)
4.มึนศีรษะ วิงเวียน สับสน
5.คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ ตับโต (Right ventricular heart failure)
6.หายใจเหนื่อยกลางคืน นอนราบไม่ได้
7.ปัสสาวะน้อยลง
ก่ารคตรวจร่างกาย
1.คลำพบ Heaving และ Thrill
เคาะพบตับโต ในกรณีหัวใจข้างขวาวาย
พบตำแหน่ง PMI เปลี่ยนแปลงไป จากหัวใจที่โตขึ้น
Pulse Irregular
เสียงหัวใจเต้นผิดปกติ ฟังพบ S3 Gallop และ Murmur
ฟังปอดพบ Crepitation จากภาวะน้ำท่วมปอด
7.ท้องบวม (Ascitis) และน้ำหนักตัวเพิ่ม ต้องมีการชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอวทุกวัน
หลอดเลือดที่คอโป่ง (Neck vein engorgement) วัดหลอดเลือดดำที่คอ ถ้าสูงกว่า 4 cms จาก Sternal angle แสดงว่ามีหัวใจล่างขวาวาย
อาการบวมที่ส่วนต่ำของร่างกายเช่น หน้าแข็ง ข้อเท้า และก้นกบ อาการบวมแบ่งออกเป็น 4 grade (1+, 2+, 3+, 4+)
หัวใจห้องข้างขวาวายจะมีผลกับการทำงานของตับและการไหลเวียนของหลอดเลือดส่วนปลาย
หัวใจห้องซ้ายวายมีผลกระทบกับการทำงานของปอดและระบบหายใจ
การวินิจฉัย
1.อาการทางคลีนิค จากการประวัติเช่น อาการเหนื่อย ทำงานไม่ได้นาน (Activity intolerance) หอบ ฯลฯ
2.ตรวจร่างกาย อาจพบ บวม เขียว Murmur, decreased breath sound, crepitation, S3 gallop
3.การตรวจพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ EKG, Echocardiogram, cardiac cathetorization
การรักษาภาวะหัวใจวาย
ยากลุ่ม Beta-blockers
ยากลุ่ม Digoxin,inotropes
การรักษาโดยไม่ใช้ยา จำกัดโซเดียม,จำกัดน้ำ,ควบคุมอาการและการฟื้นฟู
การรักษาโดยการผ่าตัด Heart transplantation,CABG
การใช้เครื่องมือ Cardiac resynvhronization Therapy,pacemaker
ยากลุ่ม ACE inhibitors,angiotensin-receptor biockers,aldosterone antagonists
Diuretics,aldosterone antagonists,nesiritide
ยากลุ่ม ACE inhibitors,angiotensin-receptor biockers,Vasodilators,alpha-biockade,nesiritide,exercise
หัวใจห้องล่างซ้าย
พยาธิภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย ไม่สามารถบีบเลือดที่มีออกซิเจน น้ำตาลและสารอาหารไปเลี้ยงร่างกายได้ ทำให้มีอาการ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และชีพจรเบาลง เนื้อเยื้อบริเวณโดยรอบในปอดทำให้เกิดภาวะ น้ำคั่งในปอด ทำให้หายใจลำบาก มีเสียง Crepitation ในปอด
สาเหตุ ภาวะความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือด หัวใจตีบ โรคลิ้นหัวใจ โดดยเฉพาะลิ้นหัวใจ Aortic หรือ Mitral vale
อาการ
หัวใจเต็นเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ หายใจลำบากตอนกลางคืน ไอหายใจลำบากเมื่อนอนราบและมักพบหายใจลำบากในตอนกลางคืน ปัสสาวะออกน้อย ซีดเขียว คล้ำ ชีพจรเบา
มีปัสสวาะออกน้อย
อาการแทรกซ้อน
น้ำท่วมปอดเฉียบพลัน บางครั้งเสมหะเป็นฟองสีชมพู นอนราบไม่ได้ หายใจมีเสียงวี๊ด ฟังปอด Crepitation ฟังหัวใจ พบ S3 Gallop
หัวใจห้องล่างขวา
พยาธิสภาพ
กล้ามเนืี้อหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่ลดลง ไม่สามารถบีีเลือดไปที่ปอดได้ ส่งผลให้เลือดดำคั่งในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ทำให้มีอาการบวมที่แขนขา และท้อง มักมีเส้นเลือดโป่ง JVD มีน้ำคั่งในร่างกาย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาขาดเลือด หลอดเลือดที่ปอดมีความดันสูง หรือหัวใจล่างซ้ายวายมีผลทำให้หัวใจห้องล่างขวาวายตามมา
อาการ
บวมที่ขาทั้ง2 ข้างกดบุ๋ม มือบวม นิ้วบวม ก้นบวม อวัยวะเพศบวม น้ำหนักตัวเพิ่ม
ตับ มามโตและปวดแน่นท้อง
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
หัตถการเกี่ยวหัวใจ
วิธีการทำ
การพยาบาลก่อนทำการสวนหัวใจ
เจาะเลือด X-ray
ต้องงดน้ำงดอาหารหลังเที่ยงคืน
ต้องงดยาก่อน NSAID,ASA
การพยาบาลหลังทำ
นอนราบประมาณ 8 ชั่งโมง อาจจะหนุนหมอนสองใบหลังทำไปแล้ว2 ชั่งโมง
กลับบ้านได้ภายในวันที่ตรวจ
รับประทานอาหารที่เป็นน้ำ
CABG
ก่อนทำ
1.ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
2.ให้ยา sedative ทางปากหรือหลอดเลือดดำ
3.ให้ยาระงับความรู้สึก GA
5.ใส่ท่อช่วยหายใจ.
6.สวนปัสสาวะค้าง
หลังทำ
1.ย้ายเข้า ICU
2.ติดตามการทำงานของหัวใจตลอดเวลา
3.Controlled heart rate และ hemodynamic
4.ดูแลสาย Chest tube
5.ดูแลทางเดินหายใจ และทางเดินปัสสาวะ
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
สาเหตุ/ปัจจัยเสียง
1.อายุ เพราะเมื่อสูงอายุ เนื้อเยื่อหัวใจเสื่อมลง รวมถึงลิ้นหัวใจด้วย ส่งผลให้ลิ้นหัว ใจปิดไม่สนิทในขณะที่หัวใจบีบตัว
2.การติดเชื้อต่างๆที่ลุกลามถึงการติดเชื้อของลิ้นหัวใจ และ/หรือเยื่อบุหัวใจซึ่งการติดเชื้อจะก่อให้เกิดการอักเสบ และพังผืดเกิดขึ้นกับลิ้นหัวใจ จึงก่อให้เกิดได้ทั้ง โรคลิ้นหัวใจแบบเลือดไหลสวนกลับ และโรคลิ้นหัวใจแบบลิ้นหัวใจตีบ การติดเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคลิ้นหัวใจได้บ่อย คือ โรคไข้รูมาติค
3.โรคหัวใจจากสาเหตุอื่นๆ เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว และ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อุดตัน
4.โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
ลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ
สาเหตุ ไข้รูมาติกเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด
พยาธิสภาพ
อาการ เหนื่อย หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน
การพยาบาล
การใช้ยา ได้แก่ยาขับปัสสาวะและควบคุมโซเดียม
การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ
ลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว
สาเหตุ การติดเชื้อ การที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อลิ้นหัวใจฉีกจากโคบางโรค
พยาธิสภาพ
อาการ ในระยะแรกไม่มีอาการ เมื่อมีอาการรุนแรงขึ้นจะพบหายใจลำบากขณะมีกิจกรรม เมื่อพักอาการจะหายไป ใจสั่น นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋ม หลอดเลือดดำโป่งพองที่คอ อ่อนเพลียมาก
การรักษา
1.ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการกลับเป็นซ้ำ จำกัดกิจกรรม จำกัดเกลือและน้ำ
2.ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ digitalis ยาขยายหลอดเลือด ยากลุ่มไนเตรท, ACEI จำกัดเกลือ, แก้ไขภาวะหัวใจล้มเหลว
3.ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (valve replacement) เมื่อจำเป็น ลิ้นหัวใจเทียม (Mechanical valve) มี 2 แบบ ชนิดเป็นโลหะ (เกิดลิ่มเลือดได้มาก) และธรรมชาติ (เกิดลิ่มเลือดน้อยกว่า)
ลิ้นหัวใจเอออร์ตาตีบ
สาเหตุ พิการแต่กำเนิดและความเสื่อมของลิ้นหัวใจ
พยาธิสภาพ
จะค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลานาน จนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็กจึงปรากฎอาการ
อาการ เจ็บหน้าอกแบบAngina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า
การรักษา
ระยะแรกรักษาตามอาการ
ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด
ลิ้นหัวใจเอออร์ตารั่ว
สาเหตุ ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ
พยาธิสภาพ
มักเกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อหลอดเลือดเอออร์ต้าฉีกขาด การบาดเจ็บของทรวงอก
เวนตริเคิลซ้ายมีการปรับตัว โดยการขยายห้องหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจทำให้ความตึงตัวผนังหัวใจเพิ่มขึ้น เวนตริเคิลซ้ายจึงหนาตัวขึ้น
อาการ ใจสั่น หายใจลำบาก มีเสียงฟู่แแบบ Decrescendo ช่วงหัวใจคลายตัว
การรักษา
ระยะแรกและปานกลาง รักษาตามอาการ
ระยะรุนแรง การรักษาที่ดีที่สุดคือการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
1.ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากสิ่งสังเคราะห์ มักพิจารณาทำในคนที่ไม่ใข่ผู้สูงอายุ
2.ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากเนื้อเยื่อคนหรือสัตว์ พิจารณทำในผู้สูงอายุ
การพยาบาล
1.การพักผ่อน อย่างน้อย 8-10 ชั่งโมง
2.การออกกำลังกายตามความสามารถของผู้ป่วย
3.สามารถทำงานได้หลังผ่าตัด 6 lyxfksN
4.ลดโซเดียมเพื่องป้องกันการคั่งของสารน้ำ
5.สอนให้สังเกตอาการแสดงที่ต้องพบแพทย์ น้ำหนักเพิ่ม ข้อเท้าบวม ไอบ่อย
6.เพศสัมพันธ์ มีได้เมื่อทำกิจวัตรประจำวันโดยไม่มีอาการเหนื่อย
7.การตั้งครรภ์ ในช่วง 3 เดือนแรกหลังผ่าตัด
ป้องกันการติดเชื้อของลิ้นหัวใจเทียม
9.การรับประทานยา
หลอดดำดป่งพอง
AAA อาจเกิดการแตกได้ในกรณีที่มีความดันโลหิหิตสูง ทำให้มีภาวะช็อคจากการเสียเลือดและมีโอกาสเสียชีวิต 50-90 %
อาการ
คลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องเรื้อรัง มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร การกดหรือกระแทกรุนแรง อาจทำให้เกิดการแตก
การรักษา
ถ้าหลอดเลือดแดงใหญ่ไม่โตมากให้เฝ้าระวังอากร แต่ถ้าก้อนโตมากพิจารณาผ่าตัด
ถ้ามีอาการ แน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด เป็นลมหรือไอเป็นเลือดให้ระวังการปริแตกของ Anuerysm
การพยาบาล
ควบคุมความดันโลหิต
งดบุหรี่
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด หลังผ่าตัดซ่อมแซมเส้นเลือดระมัดระวังไม่ให้หัวใจและเส้นเลือดแดงใหญ่ทำงานหนัก
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
1.ติดเชื้อ ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย วันโรค เชื้อรา พยาธิ ไข้รูมาติก การติดเชื้อในร่างกาย หรือจากการไม่ติดเชื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะยูรีเมีย
2.ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกาย ได้แก่โรค SLE, ไข้รูมาติค และหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1-4 สัปดาห์ (Dessler’s syndrome)
3.การใช้ยา Procainamide, Hydralazine หรือ Phenytoin
4.การได้รับบาดเจ็บ
5.สารพิษ
6.การได้รับรังสี
7.สารเคมี
พยาธิสภาพ
การอักเสฐของเยื่อหุ้มหัวใจทำให้เกิดไฟบรินและน้ำเกินบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจ
ความจุหัวใจลดลง ความดันรอบหัวใจสูงขึ้น ทำให้เลือดไหลกลับหัวใจลดลง
อาการ
ไข้ (Fever)
เจ็บหน้าอก (Chest pain) ร้าวไปแขน ไหล่ และคอ
หนาวสั่น (Chill)
ฟังหัวใจได้ยินเสียง rub หรือ Grating sound
หัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
ใจสั่น (Palpitation)
หายใจลำบาก (Dyspnea)
อ่อนล้า (Fatigue)
การรักษา
1การใช้ยา NSAID, cochicin อาจให้ตัวเดียวหรือร่วมกัน สำหรับ Coricosteroid ให้เมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น
2การระบาย (Drainage) โดย
2.1 การเจาะน้ำออกจากเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardiocentesis)
2.2 การผ่าตัด (Open drainage) ได้แก่ pericardiectomy, pericardiocentesis, pericardial window placement, and pericardiotomy
3.การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพพื่อเพิ่ม
การพยาบาล
1.ประเมินความผิดปกติระบบไหลเวียน
2,ติดตามการทำงานของหัวใจ
ให้การพยาบาลก่อนและหลังการทำหัตถการ
4.การดูแลระบบไหลเวียนเลือด
5.ให้น้ำเกลือเพื่ิเพิ่มปริมาณชตร่ลือด
6.ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ Myocar หรือ inflammatory cardiomyopathy เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจโดยมีการอักเสบเกิดขึ้นทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของกำลังการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือนำมาสู่การเสียชีวิตอย่างเฉียบพลันได้
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส ได้แก่ Coxackiea,Coxackie,Infiueneae,Admovirws,CMV,EBV
เชื้อ Bacyeria และเชื้อรา
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
อาการ
5.ในระยะยาว อาจมีภาวะแทรกซ้อนต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ จนเป็นภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
4.หัวใจเต้นช้า
3.เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ
2.การดำเนินโรคแบบค่อยเป็นค่อยหรือมีอาการเปลี่ยนแปลงทรุดลงอย่่างรวดเร็ว
1.แตกต่างกันไปมีอาการคล้ายเป็นหวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ไปจนถึงการมีภาวะน้ำท่วมปอดที่รุนแรง
การประเมิน
8.ตัดตัวอย่างกล้ามเนื้อหัวใจไปตรวจสภาวะอักเสบของหัวใจ
7.การตรวจด้วยเครื่องแม่เหล็กหัวใจ
6.การตรวจหัวใจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
5.เอนม์กล้ามเนื้อหัวใจ
4.เอกซเรย์ปอด
3.คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
2.ตรวจร่างกาย
1.ประวัติครอบครัว
การรักษา
2.การให้ยาคุ้มกันหรือยาต้านการอักเสบการให้ยาดังกล่าวในผู้ป่วยที่ผล biopsy ยืนยันค่าเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบจิง
3.การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง เช่น ยากลุ่มขยายหลอดเลือด เช่น ไนโตรกลีเซอรีน หรือ โซเดียมไนโตรปลัสไซด์
1.การช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ โดยใช้เครื่องช่วยการทำงานของหัวใจ
4.การรักษาโดยไม่ใช่ยา ได้แก่ สังเกตการทำงานของหัวใจและระบบไหลเวียน การควบคุมน้ำ และการให้ออกซิเจน
5.การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
เยื่อบุหัวใจอักเสบ
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นใน Endothelium และลิ้นหัวใจเชื้อโรคฝังตัวที่เยื่อบุกล้ามเนื้อหัวใจด้านใน เกิดได้ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง มีผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจภายหลังโรคติดเชื้อ ทำให้เยื่อบุกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบมีผลให้การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้หลอดเลือดออกจากหัวใจลดลง
สาเหตุ
1.ติดเชื้อไข้รูมาติด ไข้หวัดใหญ่ ไวรัส แบคทีเรีย ริกเกตซีย เชื้อรา หรือ พยาธิ
2.พบใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย มักเข้าสู้กระแสเลือดได้ จากทางเข้าหรือแผลเปิดส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
อาการ
3.ถ้ามีอาการมากขึ้นจะภาวะหัวใจวายรวมด้วย
2.อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอกหายใจลำบาก
1.ในรายที่ไม่รุนแรง ไม่มีอาการแสดง
5.ในรายที่มีอาการรุนแรงจะพบตรวจพบความผิดปกติของ T-wave
การประเมิน
1.ประวัติความเจ็บป่วย อาการที่พบ การเจ็บหน้าอก ความรุนแรง ตำแหน่งร้าวไปส่วนใด อาการบรรเทาเมื่อใด ความเจ็บป่วย เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอกเสบ หรือ หัวใจรูมาติกแต่กำเนิด ใสลิ้นหัวใจเทียมการผ่าตัดหัวใจ การได้รับยาหลอดเลือดดำ หรือการได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
2.การตรวจร่างกาย การประเมินสถานภาพทางหัวใจและการไหลเวียน ความดันโลหิต ชีพจร อุณหภูมิ
3.การตรวจพิเศษ ได้แก่ Film chest, Echocardiogramและ การสวนหัวใจ
การรักษา
2.ให้ยาขับปัสสาวะ
3.ให้ยาต้านการติดเชื้อ
1.ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ เช่น Digitalis