Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และอุบัติใหม่ - Coggle…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และอุบัติใหม่
Hepatitis
สาเหตุ
เกิดจากการเสียหน้าที่ของตับจากภาวะตับอักเสบ การบาดเจ็บ ตับแข็ง
Hepatitis A Virus (HAV)
้เกิดจากไวรัสชนิด RNA การกินอาหารหรือดื่มน้ำไม่สะอาด สามารถตรวจพบเชื้อในอุจจาระได้ 2 สัปดาห์ ใช้เวลาฟักตัว 15-30 วัน
Hepatitis B Virus (HBV)
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด DNA ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน ติดต่อได้ทางเลือด
Hepatitis Non A Non B
NAnB เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด ติดต่อได้ทั้งการรับประทานอาหาร
การพยาบาล
การได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย ถ้ารุนแรงทำให้เกิดภาวะตับวาย สังเกตอาการ มีไข้ อาการตา ตัวเหลือง
โรคไวรัสอีโบร่า
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสเลือดหรือสารน้ำร่างกาย
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
พยาธิวิทยา
สร้างไกลโคโปรตีน อีโบลาไวรัสโคโปรตีน
ไวรัสแพร่กระจายปุ่มน้ำเหลือง ตับ ปอด และม้าม เกอดการปล่อยไซโทไคน์ ทำให้ความแข็งแรงของหลอดเลือดเสียไป
การวินิจฉัย
การตรวจหาอาร์เอ็นไวรัสโดยปฎิกิริยาลกโซ่พอลิเมอเรส
ภาวะแทรกซ้อน
ดีซ่าน
สับสน
ชัก
เลือดออกรุนแรง
โคม่า
การักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลด์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
โรคไข้หวัดใหญ่
การแพร่กระจาย
การกระจายทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลัง
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินหายใจ
ระบหัวใจ
ระบบประสาท
การรักษา
ให้ยาต้าน Antiviral teatment
การพยาบาล
การล้างมือ
กินอาหารที่มีประโยชน์
ลดไข้
ปิดจมูก ปาก
พักผ่อนมากๆ
เชื้อไข้หวัดนก
ระยะฟักตัวใรนคนสั้น 1 ถึง 3 วัน
การวินิจฉัย
มีไข้มากกว่า 38 องศา
ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค
ยาที่ใช้รักษา
Zannamivir
Oseltamivir
วิธีป้องกัน
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้อ
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
แยกผู้ป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย 3 ฟุต
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
สาเหตุ เกิดจากการเชื้อไวรัสโคโรนา
การติดต่อ สัมผัสผู้ป่วย น้ำลาย น้ำมูก
ระยะฟักตัว 2-7 วัน
อาการ
ไข้สูงมากกว่า 38 องศา
ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดศีรษะมาก
ปอดอักเสบ
อาการหายใจลำบาก
MERS-Cov หรือ Middle Eat Respiratory Syndrome-Corona Virus
มีระยะฟักตัว 2-14 วัน
อาการ
ไข้สูง อาการไอ หายใจลำบากกว่า 28 ครั้ง
อาการทางระบบทางเดินอาหารร่วมด้วย คลื้นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การหาเชื้อ MERS-Cov การตรวจหาเสมหะ
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัส
การให้ยาปฎิชีวนะ
การรักษาตามอาการ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยง การเข้าไปในพื้นที่แออัด
แนันำให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย
ควรล้างมือบ่อยๆ
ปฎิบัติหลักสุขอนามัยที่ดี
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ
ช่องทางการแพร่โรค
เชื้อขับออกทางอุจจาระได้ 9-14 วัน
การขยี้ตา
ละอองเสมหะ