Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบ บ่อย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบ
บ่อย
ทารกแรกเกิดที่มีความพิการเเต่กำเนิดที่พบบ่อย
Imperforated Anus
Down's syndrome
TE-Fistula
Spinabifida
Cleft lip and Cleft Palate
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง
ทารกแรกเกิดที่มีโอกาสหรือความไวสูต่อการเจ็บป่วย พิการ หรือตาย ทารกและครอบครัวต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์พยาบาล นับตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด จนถึงอายุ 28วัน
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าอายุในครรภ์
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากันหรือเรียกว่าทารกแรกเกิดที่มีอายุต่ำกว่าอายุครรภ์
Very low birth weight ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด <1500 กรัม (1000-1499)
Very Very Low birht weigth ทารกที่มีน้ำหนัก < 1000 กรัม
Low Birth weight ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด < 2500 กรัม (1500-2499)
Birth Asphyxia
ภาวะขาดออกซิเจนหลังคลอด Apgar score ต่ำกว่า 7 ที่ 1 นาทีและ 5 นาทีมักต้องช่วยหายใจนานเกิน 2-3 นาที
3-4 คะเเนน ระดับปานกลาง
5-6 คะเเนน ระดับน้อย
แปลผล 0-2 คะแนน ระดับรุนแรง
7-10 คะแนน ไม่มีภาวะAsphyxia
RDS
เขียวพบหลังคลอดไม่เกิน 6 ชม.
ทารกมีปีกจมูกบาน
หายใจเร็ว >60 /min
เสียงกลั้นหายใจในระยะหายใจออก
มีเสียงคาง
ลักษณะเสียงหายใจไม่สัมพันธ์กันระหว่างทรวงอกและหน้าท้อง
เสียงหายฝจลดลง มีหยุดหายใจ
MAS
กลุ่มอาการหายใจลำบากเกิดจากทารกสูดสำรักขี้เทาอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปทางเดินหายใจ
GA<37 week พบ 35-40%
GA <34 week ยังไม่มีระบบประสาทซิมพาเทติก
10% ของการคลอด
อาการ
ผิว เล็บและสะดือมีสีเหลืองปนเขียวของขี้เทา
ปลายมือปลายเท้าเขียว
มักเป็นเด็ก Post-term
หายฝจเร็ว อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน
ฟังปอดมีเสียง rhonchi และ crepitation
อาจพบ Pneumothorax
COPD
โรคปอดเรื้อรังในทารกซึ่งเกิดตามหลังใช้เครื่องหายใจและออกซิเจนความเข้มข้นสูงๆนาน 28 วันทำให้ทารกหย่าออกซิเจนไม่ได้
อาการ
wean off ventilator ไม่ได้
ทารกต้องการออกซิเจนนาน 28 วัน หรือมากกว่า 30 วัน
ทารก หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ถ้ารุนแรงเขียวเป็นระยะ จากหลอดลมหดเกร็ง
ท้องอืด อาเจียนหลังให้นม หรือภาวะสำรอกอาหาร
AOP
โดยจะมีการหายใจไม่สม่ำเสมอ หยุดหายใจไม่เกิน 15 วินาที
D-SAT ไม่พบอัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นหัวใจและสีผิวเขียวซีด
พบในระยะ 2-3 สัปดาห์แรก
ROP
เป็นความผิดปกติของเส้นเลือดที่เข้าไปเลี้ยงจอประสาทตา
สาเหตุ
การรักษา
จี้ด้วยความเย็น
ผ่าตัด
การตรวจตา
ให้ O2 อย่างเหมาะสม
Vasoconstriction นานๆทำให้เส้นเลือดตีบตัน
การได้รับ PaO2
Hypotermia
อุณหภูมิที่วัดทาทวารหรือรักแร้ ต่ำกว่า 36 องศาเซลเซียส หรือวัดจากผิวหนังลำตัวต่ำกว่า 36 องศาเซลเซียส
NEOnatal jaundice
ภาวะที่ทารกมี bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติ
ชนิดของการเกิดตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
Physiological jaundice
Pathological jaundices
NEC
มักพบในทารกคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย ก่อนกำหนด ร้อยละ 88 และเป็นทารกคลอดครบกำหนด ร้อยละ 12 มีปัจจัยเสี่ยงระหว่างมารดาตั้งครรภ์ ขณะคลอดหลังคลอด
อาการ
เลือดออกในทางเดินอาหาร
อาเจีนย ถ่ายเป็นเลือด
อาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีนมเหลือค้างอยู่ในกระเพาะอาหารบ่อยๆ
ท้องอืด กินนมไม่ได้
NEONATAL SEPSIS
การติดเชื้อในกระเเสเลือดหรือติดเชื้อหลายระบบที่เกิดขึ้นในเดือนแรกของชีวิต
อาการ
เหลือง มีจุดเลือดออก ผื่นจ้ำเลือด
สะดืออักเสบ ปอดอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสสาาวะ
ซึม กระสับกระส่าย สั่น ชัก
ท้องอืด อาเจียน ท้องเสีย
หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ไม่สบาย
ซีดตัวลายเป็นจ้ำๆ ผิวหนังเย็นชื้น
Hypoglycemia
ภาวะที่น้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg/dl ในทารกที่ไม่แสดงอาการผิดปกติ
สาเหตุ
ใช้กลูโคสเพิ่มจากภาวะเครียด
ร่างกายมีกลูโคสลดลง
อาการ
ซีด
หยุดหายใจ
อาการสั่น
เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก ตากรอกไปมา ชักกระตุกเฉพาะที่
Myelomeningocele
อาการที่พบชัดเจนในโรคนี้ กระดูกสันหลังคดงอ กระดูกสะโพกบิดเบี้ยว ความพิการของเท้าเพราะไม่มีเส้นประสาทมา supply และไม่มีการทำงาน