Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 โภชนาการ (Nutrition) - Coggle Diagram
บทที่ 1 โภชนาการ (Nutrition)
โภชนบำบัด
อาหาร
อาหารหลัก5หมู่
วิตามิน
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
โปรตีน
สารอาหาร 6 ชนิด
โปรตีน
ถ้าได้รับมากเกินไปทำให้ตับทำงานหนัก
ถ้าได้รับน้อยเกินไป ทำให้เกิดโรค kwashiokor, marasmus ,marasmic kwashiokor
ไขมัน
ถ้าได้รับมากเกินไปทำให้ เกิดโรคอ้วน
ถ้าได้รับน้อยเกินไป เกิดโรค Eczema
คาร์โบไฮเดรต
ถ้าได้รับมากเกินไป ส่งผลให้เป็น Hyperglycemia
ถ้าไดรับน้อยเกินไปทำให้เป็น Hypoglycemaia
วิตามิน
วิตามินA
มีมากทำให้เป็นโรคดีซ่าน / ถ้ามีน้อยทำให้เป็นโรคตาฟางกลางคืน
วิตามิน D
มีน้อยเกินไป ทำให้เด็กเป็นโรค Ricket ในผู้ใหญ่เป็นโรค Osteomoiacia / มีมากเกินไป ทำให้ ทำให้มีแคลเวียบมในปัสสาวะสูง ไตอาจล้มเหลวได้
วิตามิน E
มีน้อยเกินไปทำให้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง เม็ดเลือดแดงเสื่อม / ถ้ามีมากเกินไป ทำให้ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย ริมฝีปากอักเสบ
ประโยชน์ ชะลอการเกิดอัลไซเมอร์ (Alzheimer) พาคินสัน (Pakinson)
วิตามิน K
ถ้ามีน้อยเกินไปทำให้ เกิดการตกเลือดตามผิวหนัง/ ถ้ามีมากเกินไปทำให้ เป็นโรคดีซ่าน ในเด็กแรกคลอด
ประโยชน์ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
วิตามิน C
ถ้ามีน้อยเกินไป ทำให้เป็นโรคลักปิดลักเปิด เลือดออกตามไรฟัน
ถ้ามีมากเกินไปเสี่ยงเป็นโรคเก๊าท์
เกลือแร่
น้ำ
การวินิจฉัยโรคอ้วน
การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แล้วมาเทียบกับตารางมาตรฐาน
การวัดค่า BMI =น้ำหนัก( กก.)/ส่วนสูง (เมตรยกกำลังสอง)
วัดเส้นรอบวงเอว
วัดค่า WHR = เส้นรอบวงเอว/เส้นรอบวงสะโพก
การประเมินภาวะโภชนาการ
การตรวจทางคลินิก โดยใช้สายตาประเมิน
ข้อเสีย คือ ไม่ค่อยมีมาตรฐาน
การตรวจสารทางชีวเคมีในร่างกาย
การตรวจน้ำตาลในเลือด (FBS)
กรดยูริก
โคเลสเตอรอล ,ไตรกลีเซอไรด์ ,HDL-C
ฮีมาโตคริตและฮีโมโกลบิน
สำรวจอาหารที่ชอบรับประทาน
โดยใช้การสอบถาม ความถี่ หรือความบ่อย
สถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการ
สารบอแรกซ์ ทำให้อาหารเหนียวและกรอบ
ส่งผลให้มีอาการ คลื่นไส้ ถ่ายอุจจาระร่วง
สารกันรา
มักใส่ในอาหารกึ่งเปียกกึ่งแห้ง
อาการ มีผื่นคัน อาเจียน หูอื้อ แสบท้อง หายใจเหนื่อยหอบ
สารกันบูด
ถ้าได้รับในปริมาณมากเกินไป ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน วิงเวียนศรีษะ และอาจช็อกได้
สารฟอกขาว
ส่งผลให้ กระเพาะอาหารอักเสบ ภายในช่องปากอักเสบ
ฟอร์มาลิน
ส่งผลให้แสบจมูก ไอ หายใจไม่ออก ปอดอักเสบและก่อให้เกิดมะเร็ง
ยาฆ่าแมลง
สารเร่งเนื้อแดง
มีอันตรายทำให้ หัวใจเต้รนผิดปกติ นอนไม่หลับ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน และก่อให้เกิดมะเร็ง
สารหนู
ปวดท้อง ท้องเสีย ทำลายระบบประสาท
อะฟลาทอกซิน
ทำลายเซลล์ตับ
สารปรอท
ทำลายระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ฉลากโภชนาการ
สินค้าที่ไม่ต้องมีฉลาก
อาหารที่ผู้ผลิตสามารถให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคได้ขณะนั้น
ร้านอาหารริมทาง ตลาดริมถนน
อาหารสดที่ไม่ผ่านกรรมวิธีใดๆ
ผัก หมู ปลา เป้ด ไก่
อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจหน่ายเพื่อบริการภายในร้าน
โรงแรม ภัตตาคาร สถาบันการศึกษา
เครื่องหมายอย.
ทุกผลิตภัณฑ์ ต้องมี
เครื่งหมาย ฮาลาล
มีหรือไม่มีก็ได้ แต่จะสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม
เครื่องหมาย มอก.
มีในเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นต้น
เครื่องหมาย IOS
เกี่ยวกับระบบการจัดการของโรงงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เครื่องหมาย GMP
ในทุกๆผลิตภัณฑ์จะต้องมี GMP ก่อน ถึงจะขอเครื่องหมาย อย.