Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:pregnant_woman: กรณีศึกษาที่ 4 - Coggle Diagram
:pregnant_woman:
กรณีศึกษาที่ 4
โจทย์กรณีศึกษา
:newspaper:
:microscope:
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
DCIP ผล negative
HbsAg ผล negative
OF ผล negative
VDRL ผล non reactive
Hct = 36 vol%
Anti HIV ผล negative
:silhouette:
ตรวจร่างกายทั่วไป
เต้านมหัวนมปกติ
HF ¾ > ๏
เปลือกตาไม่ซีด
ทารกท่า ROA, HF
สัญญาณชีพ
:fire:
PR = 80 ครั้ง/นาที
RR = 20 ครั้ง/นาที
BT = 37 องศาเซลเซียส
BP = 100/60 mmHg
FHS = 120 ครั้ง/นาที จังหวะไม่สม่ำเสมอ
:warning:
อาการสำคัญ
:baby::skin-tone-3:ลูกดิ้นน้อยลง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการตั้งครรภ์
:hourglass_flowing_sand:
:pregnant_woman::skin-tone-2:หญิงตั้งครรภ์ GDM A 2 ประวัติการตั้งครรภ์ G3P1A1L1 last 3 ปี อายุครรภ์ 30 สัปดาห์
ฝากครรภ์ครั้งแรกที่โรงพยาบาลมหาสารคามเมื่ออายุครรภ์ 10 สัปดาห์
มาฝากครรภ์ตามนัดสม่ำเสมอ ผลการตรวจครรภ์ทุกครั้งปกติ
ได้รับ Diptheria tetanus toxoid 1 เข็ม :syringe:
ผลการตรวจพิเศษ BPP
:baby::skin-tone-2:
ทารกเคลื่อนไหวไปมา 3 ครั้งในเวลา 30 นาที
แขนขาหรือลำตัวเหยียดออกและหดเข้าบิดไป มาแล้วคืนสภาพเดิม
เห็นการเคลื่อนไหวที่แสดงการหายใจอย่างน้อย 2 ครั้ง
นาน 30 วินาที ในเวลา 30 นาที
เมื่อเคลื่อนไหวมี FHS เร็วขึ้น > 15 /min อยู่นาน อย่างน้อย 2 ครั้งใน 30 นาที
ปริมาณของน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume : AFV) 2 ซม.
คำถาม
:question:
:label:
2. ท่านคิดว่าหญิงตั้งครรภ์รายนี้
ควรส่งตรวจพิเศษอะไรเพิ่มเติม อย่างไร
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์เครื่องมือพิเศษ
โดยวิธี Biochemical Assessment
โดยการตรวจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ
ระดับของ estriol เป็นดัชนีบอกถึง
ภาวะการมีชีวิตของทารกในครรภ์
และการทำหน้าที่ของรก
:recycle:GDMA2 -->เลือดไหลเวียนไปรกน้อยลง -->รกและระบบต่างๆทำงานได้น้อยลง --> ทารกและรกผลิต Estriol ได้น้อยลง
เหตุผลที่ควรตรวจ
จะตรวจหาระดับ estriol
ในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง เช่น
สตรีที่มีเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จากกรณีศึกษาเป็น GDMA2
มีประวัติทางสูติกรรมไม่ดี คือ จากกรณีศึกษามีประวัติการแท้ง 1 ครั้ง
:speaking_head_in_silhouette:
1. จงอภิปรายเหตุผลและผลการตรวจพิเศษ
ในหญิงตั้งครรภ์รายนี้
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์เครื่องมือพิเศษ
โดย Biophysical Assessment
โดยการตรวจ Biophysical profile (BPP) :computer:
เป็นการประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยอาศัยหลักการว่า
เมื่อทารกขาดออกซิเจน ศูนย์ควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายที่
ระบบประสาทส่วนกลางก็ขาดออกซิเจนด้วย ทำให้การทำงานของ
ร่างกายบกพร่อง ซึ่งดูได้จากการดิ้นของทารกในครรภ์ :baby::skin-tone-3:
:microscope:เหตุผลในการตรวจ
:warning:เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
:hospital:ผู้คลอดมาโรงพยาบาลด้วยอาการลูกดิ้นน้อยลง
:woman::skin-tone-2:อายุครรภ์เหมาะสม 30 สัปดาห์ขึ้นไป
:heart_decoration:อัตราการเต้นของหัวใจทารกไม่สม่ำเสมอ
:outbox_tray:แปลผลการตรวจพิเศษ BPP
ทารกเคลื่อนไหวไปมา 3 ครั้งในเวลา 30 นาที (2 คะแนน)
แขนขาหรือลำตัวเหยียดออกและหดเข้าบิดไป มาแล้วคืนสภาพเดิม (2 คะแนน)
เห็นการเคลื่อนไหวที่แสดงการหายใจอย่างน้อย 2 ครั้ง
นาน 30 วินาที ในเวลา 30 นาที (2 คะแนน)
เมื่อเคลื่อนไหวมี FHS เร็วขึ้น > 15 /min อยู่นาน อย่างน้อย 2 ครั้ง
ใน 30 นาที (2 คะแนน)
ปริมาณของน้ำคร่ำ (amniotic fluid volume : AFV) 2 ซม. (2 คะแนน)
การแปลผล :outbox_tray:
:heavy_plus_sign:โดยนำคะแนนที่ได้จากค่า Parameters ทั้ง 5 มาคิดคะแนน เรียกว่า Biophysical profile scoring โดยคะแนนเต็ม 10 คะแนน
:pregnant_woman::skin-tone-2:จากกรณีศึกษาได้ 10 คะแนน แปลผล ปกติ หมายความว่า มีโอกาสเกิด asphyxia น้อยมาก อัตราการตายปริกำเนิด 1 : 1000 ทารกอยู่ในสภาพปกติ
:information_desk_person::skin-tone-3:
3. ให้อธิบายบทบาทพยาบาล
ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
ที่ได้รับการตรวจพิเศษรายนี้
บทบาทการพยาบาลการตรวจ Biophysical profile (BPP)
:loudspeaker:1.มีความรู้ความเข้าใจวิธีการตรวจแก่หญิงตั้งครรภ์เพื่อเป็นแนวทางในการข้อมูลแก่หญิงตั้งครรภ์
:handshake:2.การขอความร่วมมือในการตรวจ
:relaxed:3.ผ่อนคลายความวิตกกังวลและความกลัวต่าง ๆ
:file_folder:4.มีการติดตามผลการตรวจเพื่อจะช่วยให้สามารถนำมาวางแผนการให้การพยาบาลอย่างเหมาะสมกับปัญหาของหญิงตั้งครรภ์แต่ละราย
:newspaper:
4. ท่านคิดว่าแบบการประเมินภาวะเสี่ยงแบบใด
ที่เหมาะสมสำหรับนำมาประเมินหญิงตั้งครรภ์รายนี้
แบบประเมินความเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
ของคูปแลนด์ ( Coopland risk scoring )
และคณะ :bookmark_tabs:
:bookmark_tabs:ตารางแบบประเมิน
Link Title
ข้อมูลชุดที่ 2 ประวัติการเจ็บป่วยของสตรีตั้งครรภ์
2.3 โรคเบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
(1 คะแนน)
แปลผล มีภาวะเสี่ยงน้อย :warning:
:chart_with_upwards_trend:เกณฑ์ประเมิน
คะแนน 3 - 6 คะแนน มีภาวะเสี่ยงสูง :!!:
คะแนน 7 คะแนนขึ้นไป มีภาวะเสี่ยงสูงมาก :ambulance:
คะแนน 0 - 2 คะแนน มีภาวะเสี่ยงน้อย :warning:
:silhouettes:2. การคัดกรองเสี่ยงสูงต่อโรคทางอายุรกรรม
5. ท่านจะประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาล
สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงรายนี้อย่างไร
:recycle:
ทฤษฎีการพยาบาลแบบเอื้ออาทร
(Theory of Human Caring) :love_letter:
4.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของมารดาและทารก
5.ดูแลสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในให้สะอาด ปลอดโปร่ง
ให้กำลังใจเพื่อคลายความเครียดเเละความวิตกกังวล
6.ประเมินสุขภาพ
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการตรวจ ผลการตรวจ และแนวทางการแก้ไข
ดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจพิเศษ
1.สร้างสัมพันธภาพกับมารดา
:pencil2:จัดทำโดย
นางสาวชวนันท์ รูปคุ้ม เลขที่ 18