Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร, นางสาววรัญญา วรรณสาร…
บทที่ 3
การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร
ความหมาย องค์การ คือ การรวมตัวของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อมาร่วมมือ (หรือประสานงาน) ทํางานบางอย่างให้สําเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งใจไว
วัฒนธรรมองค์การ คือ ค่านิยม (Value) และความเชื่อ (Believe) ของสมาชิกในองค์การซึ่งส่งผลให้เกิดพฤติกรรม(behavior)แนวทางปฏิบัติร่วมกันอย่างเป็น เอกลักษณ์เฉพาะ และถ่ายทอดต่อให้กับสมาชิกใหม่ขององค์การ
หลักการพัฒนาองค์กร
(Organization Development Principle)
กําหนดเป้าหมาย ( Goal Sating ) ควรมีการประชุม อภิปราย
มีความเข้าใจในสถานการณ์ ( Understand Relations ) ต้องอาศัยความเข้าใจร่วมกันเพราะความต้องการของบุคคลจะเป็นตัวอิทธิพลอย่างยิ่งต่อพฤติกรรมการทํางาน
การมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในองค์การถือเป็นผลพลอยได้ขององค์
ให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินการการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การให้ความสนับสนุนและความร่วมมือ
การเชื่อมโยง (Linking) แนวยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การ คือความสามารถในการโน้มน้าวคนในหน่วยงานให้มีความเข้าใจที่ดีต่อกันมากที่สุด
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาองค์การ
2.เพื่อให้องค์การสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วและอยู่รอด เมื่อต้องประสบกับปัญหาและการเปลี่ยนแปลง
3.เพื่อพัฒนากระบวนการทํางานอย่างมีแผน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในวัตถุประสงค์ขององค์การร่วมกัน
1.เพื่อสร้างเสริมความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
4.ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข วัฒนธรรมที่ล้าสมัย ไร้สาระ ขัดต่อความเจริญ
5.มุ่งส่งเสริมหลักการทํางานที่เน้นหลักการมากกว่าตัวบุคคล
6.เน้นทั้งปริมาณงานและความรู้สึกของคน
7.กระจายการตัดสินใจไปยังผู้ปฏิบัติ
8.ส่งเสริมให้สมาชิกตระหนักในความรับผิดชอบต่อตําแหน่งและหน้าที่
9.มุ้งประสานเป้าหมายของบุคคลและองค์การเข้าด้วยกัน
เป้าหมายในการพัฒนาองค์
1) เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน
2) สร้างความเข้าใจที่ดี
3) สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ขั้นตอนของการพัฒนาองค์การ
1.การรวบรวมข้อมูล(Data Gathering) การรวบรวมสภาพปัญหาในองค์การ เพื่อตรวจวินิจฉัยปัญหา
และกําหนดยุทธศาสตร์
2.การตรวจวินิจฉัยปัญหา(Diagnosis)เพื่อให้รู้ว่าวัฒนธรรมที่เป็นอยู่สอดคล้องกับความต้องการหรือมีความแตกต่างกันเพียงไรต้องมีวิจารณญาณ ประสบการณ์ และมีแนวทางการตรวจวินิจฉัยปัญหา ดังนี้
นําข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ โดยใช้Mean
กำหนดเป้าหมาย เมื่อรู้สาเหตุของปัญหา ทําให้ัญหา หมดไป หรือลดลง
วิิเคราะห์แรงดัน – แรงดึง การเปลี่ยนแปลงย่อมเกิดขึ้นกับกลุ่มที่ได้ประโยชน์ และเสียประโยชน์ ต้องดูทั้งด้านสังคม การเมือง เทคโนโลยี เศรษฐกิจ
3.การกําหนดยุทธวิธี(tactic or Intervention )
การกําหนดสิ่งสอดแทรกหรือการเลือกวิธีการที่จะ
นํามาใช้ในการพัฒนาองค์กร
4.การประเมินผล( Evaluation ) เป็นขั้นตอนสําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งในการพัฒนาองค์การที่ช่วยในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการพัฒนาองค์การว่าสอดคล้องกับเป้าหมาย เกณฑ์ และมาตรฐานที่กําหนดไว้เพียงใด
สําหรับเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด เช่น การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การสํารวจปัญหา (Problem Census)
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร(Organization Development Tools)
การจะใช้เครื่องมือชนิดใดขึ้นอยู่กับบทบาทหน้าที่ขององค์กรนั้นและผู้ประเมินประเมินจากความก้าวหน้าขององค์กร ผลกําไร การขยายสาขา การดํารงสถานภาพของผู้บริหาร การบรรลุผลสําเร็จ ของงาน ความพึงพอใจของบุคลากรในหน่วยงาน ผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพจิตดี ยึดมั่นผูกพันต่อองค์กร คุณภาพที่ดีของการบริการและความพึงพอใจของผู้รับบริการดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพทางอ้อม
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการบริหารงาน
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด (MBO : Management by objective) การวางแผนเพื่อจัดองค์การที่หัวหน้าและลูกน้องมีบทบาทร่วมกันในการกําหนดเป้าหมายและขอบเขตของงาน เพื่อให้บรรลุผลสําเร็จตามต้องการ Peter Drucker เป็นผู้พัฒนาแนวคิด
ขั้นตอนของการบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด (MBO : Management by objective)
ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
กําหนดวัตถุประสงค์ (Setting of objectives) ต้องชัดเจน ระบุการปฏิบัติงาน ระยะเวลาเกณฑ์ต่าง ๆ ผู้ปฏิบัติมองเห็นทิศทาง ที่จะดําเนินการอย่างเด่นชัด
ปรับโครงสร้างขององค์การ (Revision of organization structure) มี
การกําหนดลักษณะงาน (Job description)ให้เอื้อในการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ JD ต้องมีวัตถุประสงค์ ความ รับผิดชอบ อํานาจ และความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่ง ปรับปรุงแผนภูมิ และคู่มือองค์การให้เหมาะสม
กําหนดจุดตรวจสอบ (Estabishing check points) มีการประชุมระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน โดยดูตปริมาณ ชัดเจน
การประเมินการปฏิบัติงาน(Appraisal of performance) หัวหน้าเป็นคนตัดสินด้วยสติปัญญา1-2 ครั้ง/ปี ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน/ผลที่คาดหวัง ไม่ประเมินทุกอย่างที่ผู้ปฏิบัติเกี่ยวข้อง ทําให้ลด ความเครียดระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง แล้วนําผลมาปรับปรุง เริ่มกระบวนการใหม่อย่างต่อเนื่อง
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle : QCC,QC) การดําเนินการโดยคนกลุ่มน้อย ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพโดยตนเองอย่างอิสระ ณ สถานที่ทํางานเดียวกัน ร่วมกันทุกโดยคนกลุ่มน้อย ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพโดยตนเองอย่างอิสระ ณ สถานที่ทํางานเดียวกัน ร่วมกันทุก ร่วมกัน
วัตถุประสงค์ของระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ
(Quality control circle : QCC,QC)
เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมงานและภาวะผู้นําของ firstline supervisor
เพิ่มพูนความสํานึกในคุณภาพปัญหาในงานและแก้ไขปรับปรุงงาน สุดท้ายเพื่อกิจกรรมคุณภาพทั่วทั้งองค์กรเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ขั้นตอนหลักๆการทําระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle : QCC,QC)
การวางแผน (Plan : P) ค้นหาปัญหา (โอกาสพัฒนา ) วิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุของปัญหาระดับของปัญหา เลือกวิธีแก้ปัญหา
การปฏิบัติ (DO:D) นําวิธีแก้ปัญหาที่เลือกไปปฏิบัติ
การตรวจสอบ (Check : C) เปรียบเทียบก่อนและหลังว่า
แตกต่างกันอย่างไร พร้อมหาสาเหตุแก้ไข
การแก้ไขปรับปรุง(Act:A) หากเป็นที่พอใจและยอมรับทุกฝ่ายนําไปกําหนดมาตรฐานและเผยแพร
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total quality management : TQM) หมายถึง การจัดระบบและวินัย ในการทํางาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และมุ่งสร้างคุณค่า (value) ในกระบวนการทํางาน (working process)
ความสัมพันธ์ของการจัดการคุณภาพโดยรวม เน้นให้
ความสําคัญกับลูกค้า(Customer Oriented) การสร้างผลงานที่มีคุณภาพให้กับลูกค้า มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) ทําให้เกิดแรงเหวี่ยง (momentum)ทําให้ก้าวไปข้างหน้าสะดวก คล่องตัว มีประสิทธิภาพแก้ปัญหาและพัฒนาระบบงานที่ซับซ้อน ครอบคลุมทั้งองค์กร
สมาชิกทุกคน ต้องมีส่วนร่วม(employee Involvement) พนักงานทุกคนจนถึง CEO: chief executive officer CEO ต้องทําให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนภูมิใจและสนุกในการทํางาน ไม่ปฏิบัติแบบขอไปทีเท่านั้น ทุกคนร่วมมือกันพัฒนา ทุกคนปฏิบัติให้ถูกต้องตั้งแต่เริ่มต้นและถูกต้องเสมอ(Do it right the first and every time)อาจจัดตั้งทีมงานข้ามสายงาน(Cross functional team)
วัตถุประสงค์ของการจัดการคุณภาพโดยรวม(Total quality management : TQM)
เพื่อลดต้นทุนและต้องการพัฒนาคุณภาพเพื่อสร้างความพอใจและความซื่อสัตย์ของลูกค้า เพื่อส้างความ พอใจในงานและพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน ให้มุ่งมั่นทุ่มเททํางานและท้ายสุดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการเจริญเติบโตในอนาคตขององค์กร
เอ็ดเวิร์ด เดมิ่ง (Edward Deming) ได้พัฒนาเป็นแนวคิดสําหรับการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวมให้มีประสิทธิผลไว้ 6 ประการ ดังต่อไปนี้
1.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Improvement )
2.การมอบหมายงานแก่พนักงาน
(Employee Empowerment)
3.การกําหนดมาตรฐานเทียบเคียง (Benchmarking)
4.การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี(Just in time : JIT) ทําให้ลดสินค้าคงเหลือ
5.Taguchi technique การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกแบบ เพื่อให้ได้คุณภาพที่คงที
6.ความรู้ในการใช้เครื่องมือ(Knowledge of TQM tools)
การบริหารแบบซิกซิกม่า(Six sigma) หมายถึง โอกาสของการเกิดข้อผิดพลาดเพียง 3.4 ครั้งต่อล้านครั้ง ข้อผิดพลาดในที่นี้ คือสิ่งใดก็ตามที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายของขบวนการผลิตและบริการ
Dr.Mikel Harry ซึ่งได้เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดนี้ และนำมาใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ของบริษัทจนประสบความสำเร็จอย่างสูง
Six sigma จะดีที่สุดเมื่อทุกคนในองค์การร่วมมือกันตั้งแต่ CEO ไปจนถึงบุคลากรทั่วไปในองค์การซึ่ง Six sigma เป็นการรวมกันระหว่างอานุภาพแห่งคน (Power of people) และอานุภาพแห่งกระบวนการ(Process Power)
การพัฒนาองค์การแบบ six sigma เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นความ เป็นเลิศ ซึ่งได้มีการกำหนดแนวทางในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการสื่อสาร การสร้างกลยุทธ์ และนโยบาย การกระจายนโยบาย การจูงใจ และการจัดสรรทรัพยากรในองค์การให้เหมาะสม
กลยุทธ์ที่สำคัญของ six sigma ซึ่งเกี่ยวข้องกับขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
Measurement เป็นการขั้นตอนการวัด วัดว่าองค์การอยู่ที่ใด black belt จะกระทำเพื่อวัดจุดวิกฤตต่อคุณภาพ (Critical to Quality : CTQ)
Analyze เป็นการวิเคราะห์ว่าปัญหาต่าง ๆ เริ่มมาจากที่ใด เพื่อหาทางแก้ไขโดยการเปรียบเทียบ
ศักยภาพขององค์การและคู่แข่ง
Improvement การแก้ไขกระบวนการในขั้นนี้ black belt จะเป็นผู้ระบุลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่
ต้องปรับปรุง
Control การควบคุมในขั้นนี้ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อช่วยให้ black belt กำหนดมาตรการต่างๆ
ระบบการบริหารแบบลีน(Lean Management System) คือปรัชญาในการผลิตที่ถือว่าความสูญเปล่า (Wastes) เป็นตัวการที่ทำให้เวลาที่ใช้ในการผลิตยาวนานขึ้น
กิจกรรมที่เพิ่มคุณค่า
(Value-Added Activities หรือ VA) คือกิจกรรมใดๆก็ตามที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุดิบ
กิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่า(Non-Value Added
Activities หรือ NVA) คือกิจกรรมใดๆที่ใช้ทรัพยากร
หลักการ 4ศูนย์
ของเสียเป็นศูนย์ (Zero defect)
การรอคอยเป็นศูนย์ (Zero delay)
วัสดุคงคลังเป็นศูนย์ (Zero inventory)
อุบัติเหตุเป็นศูนย์ (Zero accident)
การผลิตแบบลีน (Lean) มีแนวคิดพื้นฐานคือ การพยายามรักษาการไหลของสินค้าให้เป็นไปอย่าง
ต่อเนื่องและใช้ระบบการผลิตแบบ Just in time มีเทคนิคหลักคือ การลดความผันแปรในกระบวนการผลิตการบริหารการผลิตในองค์การยุคใหม่
องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning organization : LO) หมายถึง องค์กรที่มีทักษะ มีความสามารถในการแสวงหา การสร้างสรรค์ การถ่ายทอดความรู้ และทำความเข้าใจกับความรู้ใหม่ได้อย่างลึกซึ้ง (Insight)จนสามารถนำความรู้มาปรับปรุงพฤติกรรมของคนในองค์กร จนนำไปสู่การสร้างผลผลิตได้อย่างมากมาย
Peter Senge เป็นผู้ที่สร้างความเข้าใจและเผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับและถือเป็นแนวปฏิบัติคือ “วินัย 5 ประการในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้” ซึ่งเชื่อว่าการเสริมสร้างวินัย 5 ประการ
Personal Mastery ความเป็นเซียนส่วนบุคคล
2.Mental Modelการยึดติดในใจ อคติ ความฝังใจ โลกทัศน์หรือความคิดความเข้าใจที่คนมีต่อโลก
Share visionฝันเดียวกัน สมาชิกในองค์การมีการกำหนดเป้าหมาย (Goals) ค่านิยม (Value)การมีวิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (Mission) ร่วมกัน
Team learningการเรียนรู้เป็นทีม กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ ระหว่างสมาชิกในองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
System thinking ระบบการคิดของคนในองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ สิ่งต่าง ๆ มีการเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และ บูรณาการอย่างเป็นองค์รวม
เหตุผลที่องค์การต้องพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
กระแสโลกาภิวัตน์(Globalization)
กระบวนการทำงาน (Reengineering)
องค์การต้องเน้นคุณภาพโดยรวม (TQM)
มาตรฐาน (ISO)
องค์การต้องการความได้เปรียบ
(Competitive advantage)
องค์การต้องพึ่งพากันและกัน
(Interdependence)
องค์การต้องการสร้างอนาคตสู่ทศวรรษใหม่ (Reinventing the future)
การบริหารจัดการความรู้(Knowledge Management : KM) หมายถึงการบริหารจัดการเพื่อให้คนที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับความรู้ที่ต้องการในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งความรู้สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
Tacit Knowledge ทักษะจากประสบการณ์ไม่สามารถบรรยายเป็นถ้อยคำ หรือสูตรซ่อนเร้น ฝังลึกขึ้นกับความเชื่อทักษะในการกลั่นกรองความรู้พัฒนาและแบ่งปันกันได้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
Explicit Knowledge บรรยาย/ถ่ายทอดเป็นทฤษฎี การแก้ไขปัญหา คู่มือฐาน ข้อมูลทุกคนสามารถเข้าถึงได้
หมายถึง การจัดการณ์กับเหตุการณ์ สถานการณ์ หรือลักษณะที่ต่างไปจากเดิมให้ดีขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
ขั้นตอนในการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)ประกอบด้วย
2.1 การกำหนดกลยุทธ์ในการนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
2.2 การสื่อสารความเข้าใจถึงแผนการเปลี่ยนแปลง
2.3 การจัดแบ่งงาน
2.4 การจัดกำลังคน
2.5 การจัดระเบียบวิธีการดำเนินงาน
2.6 การพัฒนาบุคคล
2.7 การทำให้การเปลี่ยนแปลงกลายเป็นแบบแผนวัฒนธรรมขององค์การ
2.8 การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรในการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น
การติดตามประเมินผลและรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(Public Sector Management Quality Award
:PMQA) เป็นกระบวนการพัฒนาองค์กรภาคราชการ โดยนำ “เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” ที่ได้รับพัฒนาจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติและสำนักงาน ก.พ.ร. มาใช้กับระบบราชการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(PMQA) มีจุดมุ่งเน้นที่สำคัญ 6 ประการด้วยกันคือ
การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสำคัญกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
ทำงานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสำคัญ(ประโยชน์สุขของประชาชน)
องค์กรภาครัฐ มีส่วนประกอบ 4 ส่วนที่สำคัญคือ
ส่วนแรกทำงานตามที่กำหนด ตามกรอบ PMQA
ส่วนที่สอง งานต้องมีคุณภาพตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเช่น QA, HA
ส่วนที่สามใช้เครื่องมือช่วยในการ
บริหาร เช่น SWOT, KM, PMQA
ส่วนสุดท้าย คุณธรรมของคณะผู้บริหาร
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์(RESULT BASED MANAGEMENT - RBM )
หมายถึง การบริหารโดย มุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานหรือผลสัมฤทธิ์เป็นหลักจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 มีการ สร้างเครื่องมือการวัด และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการบริหารงาน” และหมายถึงผลผลิต(Outputs ) และผลลัพธ์(Outcomes) ของการทำงาน เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์(Results)
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best practice)หมายถึง วิธีการปฏิบัติที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ หรือ
คือการปฏิบัติที่ทำให้องค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ขั้นตอนการทำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best practice) มีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้นตอน
1 กระตุ้น และเปิดรับความคิด
2 ดำเนินการตามขั้นตอนการเสนอความคิิด
3 ประเมินความคิด และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุง
4 นำความคิด ไปปฏิบัติ
5 ทบทวนเพื่ขยายผลความคิด
6 ยกย่อง ชมเชย
และประกาศความสำเร็จ
7 วัดผล ทบทวน และปรับปรุง
เบ็นซ์มาร์คกิ้ง ( Benchmarking )หมายถึงกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์
และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กับองค์กรอื่นภายใต้กฎกติกาสากล
ขั้นตอนการทำเบ็นซ์มาร์คกิ้ง ( Benchmarking ) ส่วนใหญ่ มีอยู่ด้วยกัน 4 ขั้นตอนคือ
1.เราอยู่ที่ไหน ประเมินตัวเอง ดูตัวชี้วัด
2.ใครเก่งที่สุด เทียบสมรรถนะ หาค่าBenchmark
3.เขาทำได้อย่างไร ศึกษาวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Benchmarking
4.ทำอย่างไรให้ดีกว่าเขา ประยุกต์สู่การปรับปรุง Actoin Plan
SWOT Analysis
ความหมายของ SWOT Analysis
Strengths (S) จุดแข็ง จุดเด่น ข้อได้เปรียบ
Weaknesses (W) จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบ
Opportunities (O) โอกาศ สิ่งเกื้อกูล ที่จะดำเนินกิจกรรม
Threats (T) อุปสรรคที่จะทำให้กิจกรรมดำเนินไม่สำเร็จ
ประโยชน์ของ SWOT Analysis
นํา SWOT ไปจัดทําแผนกลยุทธ์เพือพัฒนาองค์กร
การทํา SWOT จะชวยให ้ไหวตัวทันสถานการณ์ ่และมีการเตรียมความพร ้อมกับการปรับเปลียนของสภาพแวดล ้อม
ตัวชวัดการวิเคราะห์
ปัจจัยภายใน
การบริหาร
บุคลากร
เงินทุน
เครืองจักร/ครุภัณฑ์/สงก่อสร้าง
วัตถุดิบ
เทคโนโลยี/นวัตกรรม
ตัวชวัดการวิเคราะห์
ปัจจัยภายนอก
เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม
การเมือง
เทคโนโลยี
การแข่งขัน
TOWS Matrix
SO Strategies จุดแข็งไปเพิ่มโอกาส
WO Strategies นำโอกาสไปลดจุดอ่อน
ST Strategies นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค
WT Strategies ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค
ทางเลือกกลยุทธ์ = WT กลยุทธ์ถอย ,WO เลือกเป็นแผนตั้งรับ (Defensive),ST Pilot test,SOเลือกเป็นแผนรุก (Aggressive)
กลยุทธ์ SO เป็นการนําจุดแข็งและโอกาสภายนอกทีองค์กรพึงมีหรือพึงจะหาได ้มาใช้ประโยชน์ให ้ได ้มากทีสุด
กลยุทธ์ WO เป็นการหาวิธีแก ้ไขจุดอ่อนหรือจุดด้อยภายในองค์กรโดยพิจารณานําโอกาสภายนอกทีจะเอื้ออํานวยผลดี หรือผลประโยชน์ต่อองค์กรมาใชให ้มากที่สุด
กลยุทธ์ ST เป็นการนําจุดแข็งภายในขององค์กรมาใชประโยชน์ให ้มากที่สุด และแก ้ไขหรือทําให ้อุปสรรคภายนอกลดน้อยลงที่สุด เท่าท่จะเป็นได้
กลยุทธ์ WT เป็นการพยายามแก ้ไขหรือลดความเสยหายของธุรกิจอันเกิดจากจุดอ่อนภายในขององค์กรและอุปสรรคจากผลกระทบภายนอก
นางสาววรัญญา วรรณสาร เลขที่ 84 (603101085)