Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of passage - Coggle Diagram
Abnormality of passage
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้ (Abnormality of true pelvis)
คือ เชิงกรานที่มีลักษณ ขนาด และรูปร่างผิดปกติ ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้ แบ่งออกได้ 4 ชนิด
1.เชิงกรานแคบ (Pelvic contraction)
1.2เชิงกรานแคบที่ช่องภายใน (Midpelviccontraction) คือ ระยะระหว่างปุ่ม ischial spine ทั้งสองข้างแคบกว่า 9.5 cm
ผลกระทบ
ต่อการดำเนินการคลอด
2.การหมุนภายในของศีรษะทารกถูกขัดขวาง
3.การหดรัดตัวของมดลูกไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากส่วนนำไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงมากด กระชับกับปากมดลูกและมดลูกส่วนล่าง
1.ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำช้า หรื่อเคลื่อนต่ำผ่านปุ่ม ischial spine ไม่ได้เลย
ต่อผู้คลอดและทารก
ผลกระทบคล้ายกับผลกระทบของเชิงกรานแคบที่ช่องเข้า
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
วัดความสูง มักพบความสูง < 140 cm มักมีช่องเชิงกรานแคบและเล็ก
ท่าทางการเดินผิดปกติ หลังโก่ง ลำตัวเอียง
3.การตรวจช่องเชิงกราน
ประเมินช่องภายใน ด้วยการวัดระยะระหว่างปุ่ม ischial spine ทั้งสองข้าง ต้องไม่แคบกว่า 9.5 cm
1.การซักประวัติ เกี่ยวกับอุบัติเหตุหรือความพิการที่เชิงกรานตั้งแต่กำเนิด
4.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ โดยการตรวจ Ultrasound
การดูแลรักษา
ในรายที่ส่วนนำผ่านลงมาแล้ว แพทย์ช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสต์หัตถการ
ในรายที่ส่วนนำไม่สามารถผ่าน ischial spine ลงมาได้ ควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ส่งเสริมให้ผู้คลอดใช้แรงเบ่งจากการหดรัดตัวของมดลูกตามธรรมชาติ
1.3เชิงกรานแคบที่ช่องออก (Outlet contraction) คือ ระยะระหว่าง ischial tuberosity < 8 cm และปุ่มใต้กระดูกหัวหน่าว แคบกว่า 85 องศา
ผลกระทบ
2.การคลอดไหล่ยาก เมื่อศีรษะคลอดออกมาได้มักมีการคลอดยากของไหล่ตามมา
3.ฝีเย็บฉีกขาดและยืดขยายมาก ซึ่งผู้คลอดมักต้องตัดฝีเย็บให้ยาวมากขึ้น เพื่อให้ช่องคลอดกว้างพอที่จะช่วยให้ศีรษะและไหล่ของทารกคลอดออกมาได้
1.การคลอดศีรษะยาก
4.ผู้คลอดอาจถูกทำสูติศาสตร์หัตถการ ในรายที่ศีรษะติดอยู่นาน
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
วัดความสูง มักพบความสูง < 140 cm มักมีช่องเชิงกรานแคบและเล็ก
ท่าทางการเดิน มักพบลักษณะท่าทางการเดินที่ผิดปกติ
3.การตรวจช่องเชิงกราน
การตรวจภายนอก ให้ผู้คลอดนอนท่าขบนิ่วแล้ววัด
การตรวจภายใน โดยการวัดระยะระหว่าง ischial tuberosity ต้องไม่น้อยกว่า 8 cm
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการคลอดในครรภ์ก่อน ระยะเวลาการเจ็บครรภ์ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การดูแลรักษา
ควรตัดฝีเย็บให้กว้างพอเพื่อป้องกันการฉีกขาด
1.1เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (Inlet contraction) คือ เส้นผ่าศูนย์กลางช่องเข้าตามแนวหน้า - หลัง < 10 cm. หรือเส้นผ่าศูนย์กลางช่องขวาง < 12 cm หรือ Diagonal conjugate < 11.5 cm
ผลกระทบ
ต่อการดำเนินการคลอด
2.ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า เพราะส่วนนำไม่กดกระชับกับปากมดลูกและมดลูกส่วนล่าง ส่งผลให้ปากมดลูกหดรัดตัวไม่มีประสิทธิภาพ
3.ทารกมักมีส่วนนำผิดปกติ เช่นท่าหน้า ท่าก้น ท่าไหล่
1.ทารกผ่านช่องเชิงกรานได้ยากหรือไม่ได้เลย
ต่อผู้คลอดและทารก
5.ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal distress
6.ทารกมี molding มากกว่าปกติ เนื่องจากช่องเชิงกรานแคบและมีแรงดันในโพรงมดลูกมาก
4.ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ เลือดเป็นกรด เกิดความกลัว
7.ทารกเกิด caput succedaneum ได้สูงเนื่องจากศีรษะถูกกดจากช่องทางคลอดนาน
3.มดลูกแตก ถ้าศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน ศีรษะจะไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกรานและไม่เคลื่อนต่ำลงมา
8.ทารกเกิดเนื้อตายของหนังศีรษะ เนื่องจากศีรษะถูกกดจากช่องทางคลอดนาน
2.ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดหรือแตกในระยะต้นๆ ของการเจ็บคครภ์
1.ส่วนนำที่กดช่องทางคลอดเป็นเวลานาน ส่งผลให้ขาดเลือดมาเลี้ยง เกิดเป็นเนื้อตาย ส่งผลให้เกิด fistula ตามมา
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการคลอดในครรภ์ก่อน ระยะเวลาการเจ็บครรภ์ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
2.การตรวจร่างกาย
ท่าทางการเดิน มักพบลักษณะท่าทางการเดินที่ผิดปกติ
ตรวจหน้าท้อง ประเมินความสูงยอดมดลูก เส้นรอบท้อง ส่วนนำ การเข้าสู่ช่องเชิงกราน
วัดความสูง มักพบความสูง < 140 cm มักมีช่องเชิงกรานแคบและเล็ก
3.การตรวจช่องเชิงกราน
ประเมินเส้นผ่านศูนย์กลางช่องเข้าตามแนวหน้า-หลัง ระยะจากส่วนที่นูนที่สุดของ symphysis pubis ถึงส่วนที่นูนที่สุดของ promontory of sacrum ต้องไม่น้อยกว่า 10 cm
ประเมินเส้นผ่านศูนย์กลางช่องขวางต้องไม่น้อยกว่า 12 cm
4.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ โดยการตรวจ Ultrasound
การดูแลรักษา
ผู้คลอดที่ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ ควรเตรียมการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
งดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
1.4เชิงกรานแคบทุกส่วน (Generally contracted pelvis) คือ ช่องเชิงกรานแคบทั้งช่องเข้า ช่องภายในและช่องออก
ผลกระทบ
มีผลกระทบต่อทุกระยะของการคลอดจะทำให้เกิดการคลอดติดขัด ส่วนนำของทารกไม่สามารถเข้าสู่ช่องเชิงกรานได้
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน (Cephalopelvicdisproportion: CPD)
คือ ภาวะที่ศีรษะทารกมีขนาดใหญ่มากไม่สมารถผ่านช่องทางคลอดออกมาหรือช่องเชิงกรานมีขนาดเล็กทำให้ศีรษะทารกที่มีขนาดและรูปร่างปกติไม่สามารถผ่านออกมาได้
แบ่งออก
เป็น 2 ชนิด
1.True disproportion คือ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานอย่างแท้จริง เป็นชนิดที่ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำ มียอดศีรษะเป็นส่วนนำ
2.Relative disproportion คือ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานแบบสัมพัทธ์ เป็นชนิดที่ทารกมีส่วนนำ ทรงและท่าที่ผิดปกติ
สาเหตุ
มักเกิดจากความผิดปกติของช่องเชิงกรานทุกชนิด หรือความผิดปกติของทารก เช่น ทารกตัวใหญ่ ท่ารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
4.ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ เนื่องจากส่วนนำของทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำลง
5.ช่องทางคลอดฉีกขาดมากเนื่องจากภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
3.มดลูกแตก เนื่องจากการคลอดติดขัด
6.ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
2.ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
7.ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
1.การคลอดยาก
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
วัดความสูง มักพบความสูง < 140 cm มักมีช่องเชิงกรานแคบและเล็ก
ท่าทางการเดินผิดปกติ
ตรวจหน้าท้อง ประเมินความสูงยอดมดลูก เส้นรอบท้อง ส่วนนำ การเข้าสู่ช่องเชิงกราน
3.การตรวจช่องเชิงกราน
ประเมินลักษณะช่องเชิงกรานโดยการตรวจภายนอก และการตรวจภายในทั้งช่องเข้า ช่องภายใน และช่องออก
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติการคลอดในครรภ์ก่อน ระยะเวลาการเจ็บครรภ์ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
4.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ โดยการตรวจ Ultrasound
2.เชิงกรานแตกหรือหัก (Pelvic fracture)
การมีกระดุกหักมีผลทำให้คลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ต้องผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ผลกระทบ
เมื่อกระดูกหักจะมีกระดูกใหม่งอกและหนาตัวขึ้น หรืออาจเชื่อมต่อกันแล้วไม่เข้ารูปตามเดิม
3.เชิงกรานรูปร่างผิดปกติ ผิดสัดส่วน หรือพิการ (Pelvic abnormalities)
มักเป็นมาแต่กำเนิด หรือพบภายหลังจากการขาดสารอาหารบางอย่าง เช่น Kypholic pelvis (เชิงกรานมีลักษณะรูปกรวย)
ผลกระทบ
ทำให้ผู้คลอดไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ จำเป็นต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
สาเหตุ
4.ขาดฮอร์โมนเพศหญิง
5.เชิงกรานยังไม่เจริญเต็มที่ (อายุ < 18 ปี)
3.ส่วนสูงน้อยกว่า 140 cm
6.เชิงกรานยืดขยายลำบาก (อายุ > 35 ปี)
2.พิการมาตั้งแต่กำเนิด มักเกิดร่วมกับความพิการของกระดูกสันหลังหรือขา
1.การเจริญเติบโตผิดปกติมาตั้งแต่กำเนิด
กระบวนการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
3.ประเมิน V/S ทุก 4 hr และสังเกตภาวะตกเลือด
4.ตรวจการเปิดขยายของปากมดลูก
2.ผู้คลอดที่ถุงน้ำแตก จัดให้นอนพักบนเตียง ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนนอกเมื่อสกปรก
5.ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดด้วย WHO partograph
1.ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 min - 1 hr โดยสังเกตความรุนแรง ความถี่
ข้อวินิจฉัย
ผู้คลอดมีโอกาสเกิดอันตรายของช่องทางคลอดอ่อนเนื่องจากศีรษะกดกับช่องเชิงกราน
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน เนื่องจากการคลอดยาวนาน
1.ผู้คลอดมีโอกาสเกิดระยะคลอดยาวนาน เนื่องจากเชิงกรานแคบ
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานส่วนกล้ามเนื้อและเอ็น (Abnormality of soft passage)
4.ปากมดลูกบวม มักเกิดจากส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมากดกับปากมดลูก หรือระยะเบ่งคลอด หรือรายที่ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
การดูแลรักษา
ปากมดลูกด้านหน้าบวม มักเกิดจากการกดทับของส่วนนำ ควรจัดให้ผู้คลอดนอนตะแคง ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น
5.มะเร็งปากมดลูก มักทำให้การเปิดขยายของปากมดลูกล่าช้ากว่าปกติ
การดูแลรักษา
มะเร็งปากมดลูกผู้คลอดต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทุกราย
3.ปากมดลูกผิดปกติ คือ การตีบแข็ง แคบมาตั้งแต่กำเนิดหรือภายหลัง เคยมีการฉีกขาด เคยมีการผ่าตัดปากมดลูกมาก่อน
การดูแลรักษา
ปากมดลูกแข็ง ช่วยโดยใช้นิ้วมือใส่เข้าไปในรูปากมดลูกช่วยขยายโดยรอบ
ปากมดลูกตีบ ปกติในระยะคลอดปากมดลูกจะนุ่มลงเอง
6.มดลูกอยู่ผิดที่ (uterine displacement)
6.1 มดลูกคว่ำหน้า (anteflexion) มดลูกมักจะย้อยมาด้านหน้า ทำให้ fetal axis pressure ไม่ดี ส่วนนำไม่เคลื่อนสู่อุ้งเชิงกราน แรงการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
การดูแลรักษา
ใช้ผ้ารัดหน้าท้องเพื่อประคองให้มดลูกอยู่ในตำแหน่งปกติ
6.2 มดลูกคว่ำหลัง (retroflexion) มักทำให้เกิดการแท้งในไตรมาสที่2 ของการตั้งครรภ์ อาจมีบางรายที่สามารถดำเนินการตั้งครรภ์ต่อได้ แต่มักมีการเปิดขยายของปากมดลูกล่าช้า
การดูแลรักษา
มักคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
2.ช่องคลอดผิดปกติ คือ การตีบแคบมาตั้งแต่กำเนิดหรือภายหลัง เช่น การมีผังผืดภายหังการผ่าตัดช่องคลอด การติดเชื้อภายในช่องคลอดเรื้อรัง
การดูแลรักษา
การมีผนังกั้นในช่องคลอดในรายที่มีผนังกั้นไม่มากจะสามารถฉีกขาดเองได้
มีถุงน้ำ ควรเจาเอาถุงน้ำออก มีก้อนเนื้องอกขนาดไม่ใหญ่มักไม่ทำอะไร จนกว่าจะคลอด
ช่องคลอดตีบโดยกำเนิด จะสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
7.เนื้องอก
7.1 Myoma uteri มักทำให้เกิดการแท้ง การคลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด ถ้าก้อนใหญ่กว่า 6 cm ส่งผลให้เกิดการคลอกติดขัด
การดูแลรักษา
เนื้องอกของมดลูกมักทำให้แท้งคลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด ควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
7.2 Benign ovarian tumor ทำให้ขัดขวางการเคลื่อนต่ำของทารก
การดูแลรักษา
รายที่มัความผิดปกติของรังไข่ เช่น เนื้องอกรังไข่ ต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและตัดก้อนเนื้องออกออก
1.ปากช่องคลอดและฝีเย็บผิดปกติ เช่น การตีบตัน แข็งไม่ยืดหยุ่น การมีเลือดคั่งอาจเป็นตั้งแต่กำเนิดหรือภายหลังการผ่าตัด การติดเชื้อ
การดูแลรักษา
ฝีเย็บแข็งตึงควรตัดฝีเย็บให้กว้างพอป้องกันการฉีกขาดเพิ่มเติม
ปากช่องคลอดบวมหรือมีเลือดคั่งควรผ่าตัดระบายเอาเลือดออก แล้วให้ยา ATB ป้องกันการติดเชื้อ
ปากช่องคลอดตีบรายที่เกิดจากรอยแผลเป็น ควรตัดฝีเย็บช่วยขณะคลอด แล้วเย็บให้ภายหลังคลอด
กระบวนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
2.ผู้คลอดและทารกมีโอกาสเกิดอันตรายจากการคลอดยาก หรือคลอดติดขัด
3.ผู้คลอดมีโอกาสได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสร์หัตถการหรือการผ่าตัด เนื่องจากมีความผิดปกติของช่องเชิงกรานส่วนกล้ามเนื้อและเอ็น
1.ผู้คลอดมีโอกาสเกิดการคลอดยาก คลอดยาวนาน เนื่องจากมีความผิดปกติของช่องเชิงกรานส่วนกล้ามเนื้อและเอ็น
กิจกรรมการพยาบาล
3.ฟัง FHS ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์
4.รายที่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ควรดูแลป้องกันภาวะขาดน้ำในผู้คลอด
2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
5.รายที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ควรเตรียมร่างกายและจิตใจ เพื่อการผ่าตัดทางหน้าท้อง
1.ประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก
การประเมินสภาพ
2.ตรวจร่างกายทั่วไป สัญญาณชีพ
3.ตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก เกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ สี กลิ่น ก้อนหรือสิ่งผิดปกติ
1.ซักประวัติเกี่ยวกับการเจริญพันธุ์ การมัระดู ประวัติการคลอด
4.ตรวจภายใน เกี่ยวกับลักษณะช่องเชิงกราน