Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สัมพันธภาพ
หมายถึง
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ติดต่อสื่อสารทำความรู้จักคุ้นเคยและสนิทสนมกัน
วัตถุประสงค์ของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
3) ช่วยให้ผู้ป่วยได้พัฒนาทักษะในการสื่อสาร และการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
4) ช่วยให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้การควบคุมพฤติกรรม และอารมณ์ของตนเองได้ตามแนวทางที่สังคมยอมรับ
2) ช่วยให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสระบายความรู้สึกไม่สบายใจต่าง ๆ ไปในแนวทางที่เหมาะสม
5) ช่วยให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองในด้านความเชื่อมั่น ความรู้สึกมีคุณค่า และความภาคภูมิใจ
1) ช่วยให้ผู้ป่วยได้ใช้ศักยภาพของตนเอง ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน
6) ช่วยให้พยาบาลได้รวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยอย่างลึกซึ้งมากขึ้น
ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพ
ระยะแก้ไขปัญหา (Working phase)
เป้าหมายในระยะนี้
2.ช่วยให้ผู้ป่วยได้ตระหนักถึงความรู้สึกของตนเองที่มีต่อปัญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ กระตุ้นให้ผู้ป่วยวางแผนปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่มี
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยในการแก้ไขปัญหา และประเมินผลการแก้ไขปัญหา
1.ช่วยให้ผู้ป่วยตระหนักรู้ในตนเอง พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองตามความจริง
ปัญหาที่พบ
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยรู้สึกชอบหรือรักใคร่ในตัวพยาบาล
เกิดความรู้สึกผูกพันในลักษณะต้องพึ่งพาพยาบาลมากเกินไปและอาจทำให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลตามมา
พยาบาล
เกิด Sympaty /ความเห็นอกเห็นใจ/เกิดความรู้สึกร่วมมากเกินไป เมื่อรับรู้เรื่องราวของผู้ป่วย พยาบาลจึงต้องตระหนักในตนเองเสมอ และใช้ Empathy ให้เกิดประโยชน์
วินิจฉัยปัญหาที่แท้จริงไม่ได้เนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้บอกข้อมูลที่ชัดเจนเท่าที่ควร และพยาบาลยังไม่มีทักษะในการสื่อสาร
ข้อบ่งชี้ว่าสัมพันธภาพเริ่มเข้าสู่ระยะแก้ไขปัญหาแล้ว
ผู้ป่วยรักษา จะพยายามรวบรัดเรื่องราวให้จบภายในเวลาที่พยาบาลให้กับเขา
พูดถึงปัญหา และความยุ่งยากของเขา ออกนอกเรื่องน้อยมาก
ผู้ป่วยมาตรงตามเวลานัด จะมาคอยพยาบาลในที่นัดหมาย ถ้ามาสายผู้ป่วยจะเสียใจ และจะกล่าวขโทษ
พูดเชื่อมโยงเหตุการณ์ใน Session หลังๆ
ผู้ป่วยเลิกถามถึงวัตถุประสงค์ที่พยาบาลมาพบเขา
แจ้งให้พยาบาลทราบ ถ้าเขามีมีเหตุผลขัดข้งมาพบพยาบาลไม่ได้
การพยาบาล
1.การเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อกัน เพื่อให้เกิดบรรยากาศแห่งการยอมรับ และเพื่อลดภาวะความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและพยาาบาล
เลือกใช้เทคนิคการสนทนา เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหา
ประเมินปัญหาของผู้ป่วย ถึงปัญหาหลัก ปัญหารอง
ส่งเสริมภาวะความป็นตัวเองของผู้ป่วย พึ่งพาตนเองตัดสินใจเอง แก้ปัญหาเอง ลดการที่ผู้ป่วยต้องพึ่งพยาบาลลง
ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ (Termination phase)
สัมพันธภาพจะสิ้นสุดเมื่อ
ผู้ป่วยย้ายตึก/ย้านสถานที่รักษา ออกจากโรงพยาบาล
ครบระยะเวลาทำงาน/ฝึกงานของนักศึกษาพยาบาล
ผู้ป่วยมีศักยภาพในตนเองเพิ่มขึ้น ปรับปรุงสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น บรรลุถึงเป้าหมายของแผนการรักษา
กิจกรรมพยาบาล
ประเมินผลการบำบัดและความสำเร็จตามวัตถุประสงค์
สนับสนุนให้มีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังบุคคลอื่นที่จะเป็นที่พึ่งของผู้ป่วยได้
การสร้างความรู้สึกให้ยอมรับการพรากจากซึ่งอาจเกิดขึ้นทั้งพยาบาลและผู้ป่วย
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงระยะเวลาที่จะสิ้นสุดสัมพันธภาพล่วงหน้า ควรบอกตั้งแต่วันแรกว่าจะสนทนากับผู้ป่วยนาน เพียงใดและบอกเป็นระยะ
ปัญหาที่พบ
ความเศร้า (Grief) เสียใจ อาวลัย ที่ต้องพรากจากผู้ที่เข้าใจในตนเอง อาจนั่งซึมหรือมีอาการทางกาย เช่น ปวดท้อง ปวดศีรษะ รับประทานอาหารไม่ได้
ความวิตกกังวล (Anxiety) ผู้ป่วยจะกังวลว่าไม่มีที่ปรึกษาแล้ว กังวลต่อการพรากจาก เรียก separate anxiety พยาบาลควรเตรียมตัว บอกผู้ป่วยเป็นระยะๆ
การปฏิเสธ (Denial) ต่อรองการติดต่อกับพยาบาลต่อ เช่น ขอที่อยู่
ความโกรธ (Anger) โกรธที่พยาบาลซึ่งเคยเข้าใจและช่วยเหลือเขาจะจากไป อาจแสดงความไม่้ป็นมิตร ก้าวร้าว ไม่มาตามนัด หายไปโดยไม่บอกกล่าว แสดงท่าทีฮึดฮัด ไม่สนใจ หรือใช้วาจาต่อว่าทั้งทางตรงและทางอ้อม
การพึ่งพามากขึ้น (Dependence) ไม่ยอมช่วยเหลือตัวเองเรียกร้องให้พยาบาลช่วย
ความรู้สึกผิด (Guilt) ผู้ป่วยคิดว่าตนเป็นสาเหตุทำให้สิ้นสุดสัมพันธภาพ ตีค่าตนเองต่ำ คิดว่าตนทำให้พยาบาลโกรธและทอดทิ้งไป
ระยะเริ่มต้น (Orientation phase or initial phase)
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวลในระยะแรกเริ่ม
ผู้ป่วย
ไม่เข้าใจในลักษณะของสัมพันธภาพ กังวลว่าเขาคงป่วยหนัก พยาบลจึงต้องใส่ใจเป็นพิเศษ หรือผู้ป่วยที่แยกตัวมากๆ ผู้ป่วยหนีสังคมมักจะกังวลเมื่อต้องกับพยาบาาลสองคนเป็นระยะเวลานานๆ หรือผู้ป่วยที่มีสิ่งที่ปกปิดเป็นความลับ จะกังวลเพราะเกรงว่าพยาบาลมาล้วงความลับ
พยาบาล
เกรงว่าตนเองจะไม่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้ ไม่เข้าใจผู้ป่วยและปัญหาของเรา
2.แยกแยะปัญหา (Identity Problem)
รับฟังปัญหาผู้ป่วยและแยกแยะว่าอะไรคือปัญหาที่แท้จริงอะไรคือสิ่งที่ผู้ป่วยคิดว่าเป็นปัญหา
4.ประเมินความคาดหวังของผู้ป่วย (Identity Expectation)
พยาบาลควรประเมินว่าผู้ป่วยคาดหวังอะไรจากการมีสัมพันธภาพกับพยาบาล
กำหนดขอบเขตของสัมพันธภาพ
เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความสงสัยในพฤติกรรมของพยาบาล
แนะนำตนเอง บอกชื่อ และสถานภาพทางวิชาชีพของพยาบาล
การไม่เปิดเผยข้อมูล หรือการรักษาความลับในเรื่องที่สนทนา
สถานที่ในการสนทนา
จำนวนครั้งที่มาพบกันเพื่อสนทนา
แจ้งระยะเวลา เวลาในการสนทนาแต่ละครั้ง เช่น 30 นาที
จุดมุ่งหมายของการสร้างสัมพันธภาพ
5.การบอกถึงการปกปิดเรื่องราวของผู้ป่วยไว้เป็นความลับ
ปัญหาที่พบ
ผู้ป่วย
2.การต่อต้าน (Resistance)
การบอกพยาบาลให้ไปศึกษาผู้ป่วยคนอื่น
ผู้ป่วยไม่ยอมเปิดเผยตนเอง
ไม่มาพบพยาบาลหรือบอกพยาบาลตรงๆ ว่าไม่อยากมาพบ
3.ถามเรื่องส่วนตัวพยาบาล หรือนักศึกษา
การทดสอบ (Testing)
การไม่มาพบพยาบาลตามเวลา
การมาสาย
มาพบพยาบาลแต่ไม่อยู่ครบตามกำหนด
พยาบาล
1.วิตกกังวลเนื่องจากขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด ไม่รู้จะสนทนาอย่างไร ไม่แน่ใจว่าช่วยผู้ป่วยได้ กลัวผู้ป่วยไม่ร่วมมือ กลัวผู้ป่วยทำร้าย
ถามถึงปัญหาของผู้ป่วยเร็วเกินไป ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกวิตกกังวลว่าพยาบาลจะมาล้วงความลับและยังไม่ไว้วางใจในตัวพยาบาล
เป้าหมาย
สร้างความไว้วางใจ
ประเมินแบบแผนในการดำเนินชีวิต ช่วยให้ผู้ป่วยค้นหาความต้องการในการช่่วยเหลือตนเอง รวมถึงการให้ข้อมูลทางสุขภาพเพื่อแก้ไขข้อข้องใจและลดความวิตกกังวล
สร้างพันธะสัญญา ตั้งเป้าหมายของการช่วยเหลือ และความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยและพยาบาล
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
หมายถึง
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย(therapeutic nurse - client relationship)เป็นกระบวนการที่พยาบาลเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วยควบคู่ไปกับการใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัดเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย โดยมุ่งไปที่การดูแลความเจ็บป่วย ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก ช่วยให้ผู้ป่วยได้เข้าใจปัญหาของตนเอง และค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาของตนเองได้
สำหรับเป้าหมายของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
2) ให้ผู้ป่วยรู้จักตนเองดีขึ้น และปรับปรุงตนเองด้านความคิดและการแสดงออก
3) ให้ผู้ป่วยมีความสามารถที่จะสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่นพอควร มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น โดยสามารถที่จะเป็นผู้ให้และรับความรัก
1) ให้ผู้ป่วยตระหนักในตนเอง ยอมรับตนเอง และเพิ่มความนับถือตนเองให้มากขึ้น
4) ให้ผู้ป่วยปรับปรุงหน้าที่ในการดำรงชีวิต และเพิ่มความสามารถที่จะทำให้ความต้องการจำเป็นต่างๆได้รับความพึงพอใจและบรรลุเป้าหมายที่เป็นจริง
คุณสมบัติที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
1) การยอมรับ (acceptance) คือ การที่พยาบาลยอมรับผู้ป่วยในฐานะบุคคลคนหนึ่งที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี และมีสิทธิในความเป็นคนเท่าเทียมกับบุคคล
2) การไม่ตัดสิน (nonjudgmental) คือการที่พยาบาลไม่นำแนวคิด ค่านิยม ความเชื่อหรือทัศนคติส่วนตัวไปประเมินหรือตัดสิน พฤติกรรมและความคิดของผู้ป่วย ว่า ดี – เลว หรือ ถูก – ผิด
3) ความคงเส้นคงวา (consistent) พยาบาลต้องคงเส้นคงวา ในทัศนคติ ในการกรระทำ และในแนวทางของการสนทนาหรือการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายใจ และเชื่อมั่นในตัวพยาบาล และกล้าเปิดเผยตนเองหรือยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เขาไว้วางใจ