Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้คลอดที่มีความผิดปกติของสิ่งที่คลอดออกมา Abnormal of passenger - Coggle…
ผู้คลอดที่มีความผิดปกติของสิ่งที่คลอดออกมา Abnormal of passenger
ความผิดปกติของขนาดและรูปร่างของทารก
ทารกหัวบาตร (Hydrocephalus)
ทารกแฝดติดกัน (Conjoined twins )
ทารกตัวโต (Macrosomia)
ทารกท้องโต
ผลกระทบ
มักเกิดการคลอดยาก คลอดยาวนาน หรือคลอดติดขัด
ช่องทางคลอดอ่อนฉีกขาด
การดูแลรักษา
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอดในรายที่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ผ่าคลอดในรายที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
กระบวนการพยาบาล
ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า (occiput posterior persistence: OPP)
กิจกรรมการพยาบาล
สอนแนะกระตุ้นให้ผู้คลอดใช้เทคนิคการบรรเทาปวดด้วยวิธีต่างๆ
ประเมินสภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ให้ผู้คลอดงดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด
เตรียมอุปกรณ์การช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการไว้ให้พร้อม
จัดท่าผู้คลอดเพื่อช่วยการหมุนของทารกดีขึ้น
ประเมิน APGAR score และให้การช่วยเหลือตามสภาพ
ดูแลให้มดลูกหดรัดตัวดี
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ท่าขวาง (Transverse lie)
ถ้าถุงน้ำแตกแล้วให้ฟังเสียงหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด
งดน้ำและอาหาร ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไว้
ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ลกการกระตุ้นต่างๆที่ทำให้ถุงน้ำแตก
กรณีช่วยคลอดทางช่องคลอด ให้รายงานกุมารแพทย์ วิสัญญีแพทย์
หากพบทารกอยู่ในท่าขวางและถุงน้ำยังไม่แตกให้รีบรายงานแพทย์
ความผิดปกติของขนาดและรูปร่าง
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดด้วย WHO partogragh
ตรวจภายในเป็นระยะๆด้วยความระมัดระวัง
ส่งตรวจทางตรวจจากห้องปฏิบัติการ ดูความเข้มข้นของเลือดและหมู่เลือด
ประเมินและบันทึกเสียงหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะๆ
เตรียมอุปกรณ์การช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการไว้ให้พร้อม
ลดการกระตุ้นต่างๆที่ส่งเสริมให้ถุงน้ำแตก
งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด
ท่าหน้าผาก (Brow presentation)
กรณีให้คลอดทางช่องคลอด ดูแลตรวจภายใน ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ประเมินเสียงหัวใจของทารก
ดูแลความสุขสบายของร่างกาย และประคับประคองจิตใจ
ให้ผู้คลอดนอนพักและทำกิจกรรมบนเตียง
กรณีท่าหน้าเป็นส่วนนำ ตัดฝีเย็บแบบเฉียงและให้ยาวมากขึ้น
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลทารกแรกคลอดอย่างใกล้ชิด
งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด
ท่าก้น (Breech presentation)
ระยะที่ 2
รายงานสูติแพทย์และวิสัญญีแพทย์
จัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยทำคลอดท่าก้น
เตรียมผู้คลอดจัดท่า Lithotomy position
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาที
กระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อส่วนนำเคลื่อนต่ำ
จดบันทึกเวลาที่ก้นบริเวณปุ่มกระดูกโคนขาของทารกโผล่
บันทึกข้อมูลการคลอดอย่างละเอียด
ระยะที่4 ของการคลอด เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ระยะรอคลอด
ตรวจภายในเป็นระยะๆ
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที
ให้นอนพักบนเตียงในท่านอนตะแคง
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการคลอด
รายที่ถุงน้ำคร่ำแตกให้รีบฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์และตรวจภายในทันที
ตรวจความเข้มข้นของเลือดและหมู่เลือด
งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด
คลอดไหล่ยาก (Shoulder dystocia)
ตรวจสอบการฉีกขาดของช่องทางคลอดอ่อน
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดและอาการแสดงของการตกเลือด
ประเมินอาการผิดปกติ ให้การช่วยเหลือชีวิตตามสภาพของทารก
ดูแลด้านจิตใจของผู้คลอด
กรณีคลอดไหล่หน้าไม่สำเร็จ ให้เปลี่ยนมาคลอดไหล่หลังก่อน
กรณีพบความเสี่ยงให้รีบรายงานแพทย์
ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก
ท่าหน้าผาก (Brow presentation)
สาเหตุ
ผนังหน้าท้องหย่นมาก
ครรภ์แฝดน้ำ
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ
มีสิ่งกีดขวางในช่องเชิงกราน
เชิงกรานแคบหรือศีรษะทารกโต
ผลกระทบ
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดเหนื่อยล้า
การคลอดยาวนาน
อาจเกิดภาวะมดลูกแตกจากการคลอดติดขัด
ทารกเสี่ยงขาดออกซิเจน
ฝีเย็บและช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดและอาจเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
บริเวณใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้นของทารกบวมผิดรูปผิดร่าง
ท่าก้น (Breech presentation)
สาเหตุ
ผนังหน้าท้องหรือกล้ามเนื้อมดลูกหย่อน
กระดูกเชิงกรานแคบ
ครรภ์แฝด หรือครรภ์แฝดน้ำ
มีสิ่งกีดขวางการเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ทารกตัวเล็ก
ทารกโตช้าในครรภ์ ทารกตายในครรภ์ หรือทารกพิการหรือรูปร่างผิดปกติ
การคลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบ
การฉีกขาดของช่องทางคลอดอ่อน
การติดเชื้อหลังคลอด
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดเนื่องจากท่าผิดปกติ
ตกเลือดหลังคลอดช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
ระยะการคลอดยาวนานโดยเฉพาะระยะที่2 อาจเกิดการคลอดหยุดชะงัก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมองของทารก
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
อันตรายสูงกว่าการคลอดที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ 3-5 เท่า
ชนิดการคลอด
คลอดทางช่องคลอด
ช่วยคลอด
คลอดเอง
การดึงทารกออกมา
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ท่าหน้า ( Face presentation )
ท่าขวาง (Transverse lie)
สาเหตุ
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเคลื่อนไหวได้สะดวกมาก
ครรภ์แฝดน้ำ
ผนังหน้าท้องและมดลูกหย่อนยาาน
การคลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยที่ทำให้ทารกเข้าสู่ช่องเชิงกรานไม่ได้
ทารกหัวบาตร
สายสะดือสั้นกว่าปกติมาก
ช่องเชิงกรานแคบ
มีเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
รกเกาะต่ำ
ผลกระทบ
เกิดการติดเชื้อในโพรงมดลูกได้มาก
มีอาการเจ็บปวดมาก
เกิดสายสะดือพลัดต่ำหรือถูกกดได้มาก
เกิดมดลูกแตก
ปากมดลูกและผนังช่องคลอดฉีกขาดได้มาก
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้มาก
การคลอดยาวนานหรือคลอดติดขัด
ผู้คลอดมีความวิตกกังวล
ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า (occiput posterior persistence: OPP)
สาเหตุ
ผนังหน้าท้องหย่อยยานมาก
มีสิ่งกีดขวางการหมุน
เชิงกรานแคบ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี หรือแรงเบ่งน้อย
ศีรษะทารกใหญ่หรือเล็กเกินไป
กล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานหย่อน
ศีรษะทารกก้มน้อยหรือชาไปเมื่อเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ผลกระทบ
ผู้คลอดปวดหลังและเอวมาก
ผนังช่องคลอดและฝีเย็บยืดขยายและฉีกขาดได้มาก
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ปากมดลูกบวม และอาจฉีกขาดได้
การคลอดยาวนาน
ผู้คลอดเหนื่อยล้า ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย
กระทบกระเทือนด้านจิตใจมาก
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
เครียด กังวล คับข้องใจ จากการเจ็บครรภ์คลอดมาก ระยะคลอดยาวนาน หรือกลัวตนเองหรือบุตรได้รับอันตราย
การดูแลรักษา
ใช้คีม Kielland forceps ช่วยหมุนเปลี่ยนท่า จาก OPP เป็น OA แล้วดึงช่วยคลอดต่อไป
ใช้เครื่องดูดสุญญากาศในกานช่วยคลอด
ใช้มือช่วยหมุนศีรษะทารกให้เป็น OA
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง กรณีที่เชิงกรานชนิด Android
กรณีที่ช่องเชิงกรานกว้างพอช่องคลอดและฝีเย็บยืดหยุ่นดี อาจให้ยาช่วยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดี
การคลอดไหล่ยาก (Shoulder dystocia)
สาเหตุ
ทารกมีเนื้องอกหรือพิการ บริเวณต้นคอ ไหล่ และทรวงอก
ช่องเชิงกรานแคบ
ทารกตัวโตมาก
ผลกระทบ
ทารกเสียชีวิต จากภาวะ chromic brain injury
ช่องทางคลอดฉีกขาดหรือชอกช้ำ
ทารกขาดออกซิเจนขณะคลอด
ผู้คลอดตกเลือดหลังคลอด
ทารกบาดเจ็บจากการช่วยคลอด
สายสะดือถูกกดทับ
ผู้คลอดได้รับอันตราย