Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของท่าทางการคลอด (Abnormality of position), ข้อดีของ upright…
ความผิดปกติของท่าทางการคลอด
(Abnormality of position)
ความสำคัญของท่าคลอด
ท่าทางของผู้คลอดมีผลต่อแรงกดของช่องเชิงกราน การหมุนกายใน การเคลื่อนต่ำ แรงเบ่งคลอด และการหดรัดตัวของมดลูก
เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อระดับความดันโลหิต
ท่าคลอด
ท่าที่ปัจจุบันแนะนำ
แบบยกศีรษะและลำตัวสูง 30องศา หรือ 45 องศา หรือ 60 องศา ทำศีรษะและลำตัวสูง อยู่แนวเดียวกันกับแรงโน้มถ่วงของโลก (upright position)
ที่นิยมใช้มานาน
นอนหงาย ชันเข่า (dorsal position)
นอนหงายขาพาดบนขาหยั่ง (lithotomy position)
กระบวนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
การตรวจครรภ์💛 เกี่ยวกับทรงท่า ส่วนนำ และขนาดของทารกในครรภ์หากทารกอยู่ในท่าปกติความก้าวหน้าการคลอดจะเร็วขึ้น
การตรวจภายใน💛 เกี่ยวกับ ขนาดของช่องเชิงกราน การเปิดขยายของช่องทางคลอด ท่าของท่ารกและส่วนประกอบการคลอดอื่นๆ
การตรวจร่างกาย💛เกี่ยวกับ อาการและอาการแสดงของโรคประจำตัว ความพิการหรือการได้รับอุบัติหตุที่ช่องเชิงกราน ภาวะกระดูกเชิงกรานผิดรูป น้ำหนักตัว ความสูง การได้รับยาชาทางช่องไขสันหลัง
ประเมินพฤติกรรมการแสตงออก เกี่ยวกับ การเปลี่ยนอิริยาบถ การทำกิจกรรม
การซักประวัติ 💛เกี่ยวกับ ประวัติการคลอดที่ผ่านมา โรคประจำตัว การได้รับอุบัติเหตุบริเวณช่องเชิงกราน
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอดมีโอกาสเกิดระยะที่ 1 ของการคลอดยาวนานเนื่องจากอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสม
ผู้คลอดมีโอกาสเกิดระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนานเนื่องจากอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสม
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะที่ 2 ของการคลอด
จัดท่าทางการคลอดแบบศีรษะและลำตัวสูงตามความเหมาะสมของแต่ละสถานบริการ
สนับสนุน ช่วยเหลือ และให้กำลังใจในการจัดท่าทางที่ถูกต้อง
ระยะที่ 1 ของการคลอด
สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้คลอดอยู่ในท่าศีรษะและลำตัวสูง (upright position)
อธิบายเหตุผลของการจัดท่าทางเหมาะสม เพื่อให้ผู้คลอดเข้าใจ และให้ความร่วมมือ
ไม่จำกัดท่าทางและกิจกรรมของผู้คลอดโดยเฉพาะการนอนหงายราบ หรือนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
ข้อดีของ upright position
ด้านแรงผลักดันทารก
มดลูกหดรัดตัวแรงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
มีแรงโน้มถ่วงของโลกช่วยผลักดันทารกให้เคลื่อนต่ำได้ดีขึ้น
ผู้คลอดสามารถสูดลมหายใจเข้าออกได้สะดวก ส่งผลให้มีแรงเบ่งมากและออกแรงเบ่งได้ดี
ด้านช่องคลอด
ทารกเคลื่อนต่ำและคลอดออกมาได้ง่ายขึ้นจากการที่มดลูกจะเคลื่อนมาอยู่ด้านหน้า
ช่วยเพิ่มขนาดช่องเชิงกราน
ด้านความสะดวกในการทำคลอด
ผู้ทำคลอดสะดวกในการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก การฟังเสียงหัวใจทารก การฉีดยา ตัดฝีเย็บ ทำคลอดทารกและรก รวมทั้งทำสูติศาสตร์หัตถการ
ด้านความสุขสบายของผู้คลอด
ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตต่ำจากการนอนหงายราบ
การจัดท่าแบบศีรษะและลำตัวสูง
ยกศีรษะและลำตัวผู้คลอดให้สูงจากแนวราบ อย่างน้อย 30 องศา สามารถทำได้โดยการไขหัวเตียงท่อนบนให้สูงขึ้น หรือใช้หมอนใบใหญ่หลายๆ ใบรอง
ขณะเบ่งคลอดให้ผู้คลอดกำเหล็กชังเตียง หรือเครื่องยึดเหนี่ยวช้างเตียง หรือสอดมือเข้าไปจับต้นขาใต้ข้อพับเข่าแล้วตึงเข้าหาลำตัว พร้อมทั้งให้ผู้คลอดโน้มศีรษะไปข้างหน้า ก้มให้คางจรดหอก แล้วเบ่งลงก้น
วัตถุประสงค์
ผู้คลอดได้รับการจัดท่าทางการคลอดอย่างถูกต้องเหมาะสม
ไม่เกิดระยะที่ 1 หรือ 2 ของการคลอดยาวนาน จากการจัดท่าทางการคลอดไม่เหมาะสม
ท่านั่งยองๆ (squatting position) ท่าคุกเข่า
การนั่งคุกเข่า โน้มตัวไปช้างหน้าซบกับหมอนท่า PSU cot
⬅
🔼
ข้อห้าม‼
ท่าศีรษะสูงห้ามใช้ในรายที่ได้รับยาชาทางช่องไขสันหลัง
⬇
นางสาวสมจิตร ถนอมจิต เลขที่65
รหัสนักศึกษา 601401068