Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of power, นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา…
Abnormality of power
Abnormality of primary power or force
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ (Hypotonic uterine dysfunction/uterine inertia)
ปัจจัยส่งเสริม
1. กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
1.1 มดลูกมีการขยายตัวมากกว่าปกติ
1.2 มดลูกมีเนื้องอก (myoma uter) มีถุงน้ำที่รังไข่ (ovaian cyst) หรือผนังมดลูก
เจริญเติบโตไม่เต็มที่
2. การขาดการกระตุ้น Ferguson' s reflex
2.1 ทารกอยู่ในท่า ทรง หรือส่วนนำผิดปกติ
2.2 ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานของมารดา
2.3 ช่องเชิงกรานแคบ (contracted pelvis)
2.4 ทารกตัวเล็กกระเพาะปัสสาวะเต็มหรือลำไส้ใหญ่ส่วนปลายเต็ม
3. ปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
3.1 ได้รับยาระงับปวดก่อนเวลาที่เหมาะสม (ก่อนปากมดลูกเปิด 3-4 ซม) หรือได้รับ
มากเกินไปกล้ามเนื้อมดลูกผิดปกติ
3.2 การเจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน
3.3 มีความเจ็บปวตจากการคลอดมาก
3.4 มีอาการเหนื่อยอ่อนเพลีย ขาดน้ำขาดอาหาร ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่
3.5 สาเหตุทางด้นจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
ผลกระทบ
เกิดการคลอดล่าช้าในระยะที่ 1 ของการคลอด
เกิดการคลอดยากหรือการคลอดล่าช้าในระยะที่ 2 ของการ
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดถุงน้ำหรือเยื่อหุ้มทารกอักเสบหรือติดเชื้อ
มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง
มีภาวะขาดน้ำ ขาดความสมดุลของเกลือแร่
ผู้คลอดวิตกกังวล
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน
การพยาบาล
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
กระตุ้นผู้คลอดให้ลุกเดินในระยะปากมดลูกเปิด
สวนอุจจาระเมื่อเข้าสู่ระยะปากมดลูกเปิดเร็วในรายที่ไม่มีข้อห้าม
ดูแลผู้คลอดที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ตูแลให้ได้ร้บการเจาะถุงน้ำ ถ้าไม่มีข้อห้าม
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจภายในประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก ระดับส่วนนำ การหมุนภายในของทารก
ประเมินสภาพเชิงกราน
ดูแลให้ไตรับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
สอนวิธีการบรรเทาปวดด้วยเทคนิคต่างๆ
อธิบายการดำเนินการคลอด และแผนการรักษา อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ
ประดับประคองค้านจิตใจ โดยสนับสนุนให้สามีและญาติเป็นกำลังใจ
ฟังเสียงหัวใจทารก
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาระงับปวดตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์การดูแลทารกและการฟื้นคืนชีพและทีมงานให้พร้อม
ช่วยให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกภายหลังคลอด
ภาวะมดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ (Hypertonic uterine dysfunction/ Hypertonic uterine
contraction)
1. การหดรัดตัวมากผิดปกติเฉพาะที่ของกล้ามเนื้อมดลูก
สาเหตุ
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะถุงน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในครรภ์ (Internal version)
ภายหลังเต็กแฝดคนแรกคลอดแล้ว
ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
การล้วงรก (Manual removal of placenta)
ผลกระทบ
ผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์คลอดมาก
มารดาและทารกอยู่ในภาวะคับขันที่ต้องรีบให้การช่วยเหลือ
เกิดการคลอดติดขัด
ถ้าเกิดในระยะที่ 3 ของการคลอด จะทำให้ปากมดลูกปิดส่งผลให้เกิดรกค้างและตกเลือดหลังคลอดได้
2. มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติแบบไม่คลาย (Tetanic contraction)
สาเหตุ
การคลอดติดขัด
สาเหตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่การคลอดติดขัด
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี
การมีรกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์คลอดมากเจ็บเกือบตลอดเวลา
อ่อนเพลียเหนื่อยล้า ขาดน้ำ ขาดความสมดุลของเกลือแร่
ทารกใครรร์มีโอกาสขาดออกชิเจน
อาจเกิดมดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวมาก
ต้องได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3. การหดรัดตัวมากกว่าปกติแบบไม่ประสานกัน (n-coordinate uterine contraction)
ปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดมีความวิตกกังวล และความกลัวมาก
ผู้คลอดครรภ์แรก ซึ่งพบได้มากกว่าครรภ์หลัง
ผู้คลอดอายุมาก
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดหลายครั้ง
ภาวะศีรษะทารกไม่ไต้สัดส่วนกับซ่องเชิงกราน
ภาวะทารกในครรภ์ท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
การคลอดล่าช้า
เจ็บมากกว่าปกติ
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจนสูง
ผู้คลอดมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียมากกว่าปกติ
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกบ่อยขึ้น
จัดให้นอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจน 5 ลิตร/นาที
จัดให้พักผ่อนในสถานที่สงบและเป็นส่วนตัว
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกถี่ขึ้น
สนับสนุนการบรรเทาปวดด้วยวิธีการต่างๆ
ประคับประคองด้านจิดใจ
ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
จัดให้สารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
ภายหลังให้การพยาบาลข้างต้นแล้ว มดลูกยังคงหดรัดตัวผิดปกติอยู่ ควรรายงานแพทย์
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก30นาที ถึง 1 ชั่วโมง
ในรายที่กำลังได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอยู่ให้หยุดยาทันที
จัตให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายและให้ออกซิเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์บ่อยขึ้น
ดูแลความสุขสบายร่างกาย และสอนวิธีการบรรเทาปวด
ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
ประคับประคองด้านจิตใจ
ดูแลให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
เตรียมการผ่าตัดตลอดทางหน้าท้อง
ถ้าเกิดในระยะที่ 2 ของการคลอด ควรรายงานแพทย์เพื่อจัดให้ได้รับยาสลบตามแผนการรักษา
ถ้าเกิดในระยะรก ในรายที่ไม่มีเลือดออกให้รอได้ครึ่งชั่วโมงวงแหวนอาจคลายตัวได้เอง แต่ถ้ามีเลือดออกมากให้รายงานแพทย์เพื่อดมยาสลบแล้วล้วงรก
Abnormality of secondary power or force
สาเหตุ
การเบ่งคลอดไม่ถูกวิธี
ท่าเบ่งคลอดไม่เหมาะสม
ผู้คลอดเหนื่อยอ่อนเพลีย หมดแรง
ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดในปริมาณมาก
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก ดิ้นไปมา ควบคุมตนเองไม่ได้
ผู้คลอดได้รับยาชาเฉพาะที่
ผู้คลอดอ้วนมาก
ผู้คลอดมีโรคบางอย่างที่ทำให้มีแรงเบ่งน้อย
ผลกระทบ
ผู้คลอดหมดแรงเหนื่อยอ่อนเพลีย ขาดน้ำ
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดเกิดภาวะเลือดเป็นกรด
ผู้คลอดเกิดตะคริวบริเวณขาจากการขึ้นขาหยั่งเป็นเวลานาน
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันหรือขาดออกซิเจนได้
การพยาบาล
สอนวิธีการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
สอนและสนับสนุนให้ผู้คลอดบรรเทาปวดด้วยเทคนิคต่างๆ
ไม่สนับสนุนให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ในระยะที่ 2 ของการคลอด ดูแลให้ผู้คลอดเบ่งคลอดอย่างถูกต้อง
กระตุ้นและเชียร์เบ่งเมื่อมดลูกหตรัดตัว
ดูแลความสุขสบายของผู้คลอด
ประเมินแรงเบ่งคลอด
กระตุ้นให้เบ่งทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว
อธิบายสาเหตุของความปวดให้ทราบ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5-15 นาที
ผู้คลอดที่เป็นโรคหัวใจ ความตันโลหิตสูง ซีดมาก โรคปอด หรือเกร็ดเลือดต่ำ แนะนำไม่ให้เบ่งแรงเกินไป
นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา 601401016