Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในคู่สมรส ที่เข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก -…
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ในคู่สมรส
ที่เข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก
เป็นการศึกษาอัตราการตั้งครรภ์และปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ของคู่สมรสที่เข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก โดยวิธีฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูก
ณ ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
วิธีการศึกษา
ศึกษาข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียน จำนวน 625 รอบ
การฉีดเชื้อในคู่สมรสที่เข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก
ณ ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากธรรมศาสตร์ในช่วงปี พศ 2560-2561
การวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้โปรแกรม SPSS (version 22.0)
ใช้สถิติ independent t-test หรือ Mann Whitney U test
เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลเชิงกลุ่มกำหนด
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P<0.05
ใช้สถิติ Multiple regression analysis
เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
จากการฉีดเชื้ออสุจิเข้าในโพรงมดลูก
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
ปัจจัยด้านระยะเวลาที่มีบุตรยาก
การตั้งครรภ์ในกลุ่มที่มีระยะเวลามีบุตรยากน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี สูงกว่ากลุ่มที่มีระยะเวลามีบุตรยากมากกว่า 1 ปี
ปัจจัยด้านค่าดัชนีมวลกาย
พบอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มที่มีน้ำหนักเกิน (BMI 25 ถึง
<30 กก/ม2) และ กลุ่มที่เป็นโรคอ้วน (BMI 30 ถึง <35 กก/ม2)
สูงกว่ากลุ่มที่น้ำหนักน้อย (BMI<20 กก/ม2)
ปัจจัยด้านอายุ
เมื่ออายุมากขึ้นความสมบูรณ์และคุณภาพของไข่จะลดลงซึ่งพบได้ในผู้ที่มีอายุประมาณ 35 ปี และจะลดลงอย่างรวดเร็วหลังอายุ 40 ปี
ส่งผลให้ความพร้อมของเยื่อบุโพรงมดลูกในการฝังตัวลดลง
และมีความผิดปกติของโครโมโซมเพิ่มขึ้น
ปัจจัยด้านจำนวนไข่ที่เจริญเต็มที่
ในกลุ่มที่มีจำนวนฟองไข่ที่เจริญเต็มที่สูงกว่ากลุ่มที่ไม่พบ จำนวนของฟองไข่ที่เจริญเต็มที่เลยประมาณ 5 เท่า
การฉีดเชื้ออสุจิเข้าในโพรงมดลูก (intrauterine insemination, IUI)
การรักษาภาวะมีบุตรยากโดยวิธีการผสมเทียม (artificial insemination)
วิธีการฉีดเชื้ออสุจิที่ผ่านการคัดแยกแล้วเข้าในโพรงมดลูกโดยตรง
ข้อดี
มีความเสี่ยงต่ำ
ภาวะแทรกซ้อนน้อย
วิธีการไม่ซับซ้อน
ค่าใช้จ่ายไม่สูง
อัตราการตั้งครรภ์
ฉีดเชื้ออสุจิเข้าในโพรงมดลูกจำนวน 625 รอบ
พบการตั้งครรภ์ 54 ครั้ง (8.6%)