Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดกรอบ แนวคิดในการวิจัยและประเภทของการวิจัย, นางสาว นวรัตน์…
การกำหนดกรอบ แนวคิดในการวิจัยและประเภทของการวิจัย
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามประโยชน์ของการนำผลการวิจัยไปใช้
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
(basic or pure research)
เป็นวิจัยที่มุ่งสร้างทฤษฎี สูตร หรือกฎ
เช่นกฎทางคณิตศาสตร์
เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาเรื่องอื่นๆต่อไป
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research)
เป็นการวิจัยที่มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรือแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงาน
นักวิจัยเป็นคนของหน่วยงานเองแต่สามารถมีผู้ร่วมทีมวิจัยจากภายนอกได้
ผลที่ได้จากการวิจัยแบบนี้มีความเฉพาะเจาะจงว่าวิธีการที่พิสูจน์ว่าแก้ปัญหาได้นั้น
สามารถยืนยันว่าใช้ได้ผลเฉพาะที่หน่วยงานนั้นๆ
การวิจัยประยุกต์ (applied research)
เป็นวิจัยที่เป็นไปเพื่อจะนำผลวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ในการทำงานจริง
เมื่อมีความรู้ว่าสารในพืชชนิดหนึ่งทำให้น้ำตาลลดลงได้ก็ทำวิจัยเพื่อทดลองยานั้นในผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลสูง
เมื่อได้ผลเป็นอย่างไรก็จะนำไปสู่การตัดสินใจใช้เป็นยารักษาโรคเบาหวานต่อไป
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามวัตถุประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research)
สามารถแต่หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรได้
เป็นการหาคำตอบเพื่ออธิบายว่าปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิผล/สัมพันธ์ต่อตัวแปร
พิสูจน์ว่าปัจจัยด้าน เพศ อายุ การศึกษา อาชีพนั้นมีปัจจัยใดที่มีผล
ไม่มีการทดลอง
การวิจัยเชิงคาดคะเน (predictiveresearch)
เช่น
ถ้ามีความสัมพันธ์กันหมายความว่า ถ้าความเข้มแข็งเปลี่ยน ความวิตกกังวลจะเปลี่ยนด้วย
แบบคนละทางคือสัมพันธ์ทางลบ
หรือทางเดียวกันคือสัมพันธ์ทางบวกก็ได้
หาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งกับความวิตกกังวล
เป็นการวิจัยที่ให้ผลการวิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิดแต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
แต่สามารถมีการเปรียบเทียบตัวแปร
การบริการตามการรับรู้ของพยาบาลเปรียบเทียบกับการบริการตามการรับรู้
เป็นการวิจัยคล้ายกับแบบสำรวจตรงที่ไม่มีการทดลองในการวิจัยนั้นๆ
การวิจัยเชิงวินิจฉัย (diagnostic research)
เมื่อวิจัยเสร็จจะได้ทราบคำตอบ
เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุของปัญหา
คำตอบก็จะเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่อ
การวิจัยขั้นสำรวจ
(exploratory research)
ไม่มีการหาความสัมพันธ์ว่าตัวแปรสัมพันธ์กันหรือไม่
ไม่มีการทดลองว่าใช้วิธีการบางอย่างแล้วตัวแปรจะเป็นอย่างไร
ไม่มีการเปรียบเทียบว่าอะไรมาก-น้อย แตกต่างกันหรือไม่แตกต่าง
ทำเพียง exploreดูว่าตัวแปรนั้นเป็นอย่างไร
เป็นการหาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร
มาก-น้อย
สูง-ต่ำ
ร้อยละ
จำนวน
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามความสามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimental research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมได้บางส่วน
เช่น
ให้นักเรียนห้องหนึ่งเรียนแบบบรรยาย
ให้นักเรียนห้องสองเรียนแบบเล่น
ไม่ให้นักเรียนคุยกันระหว่างห้องเรียน
แล้วเปรียบเทียบว่านักเรียนห้องใดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า
การวิจัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research)
แล้วดูว่าผลการวิจัยจะเป็นอย่างไร
นักวิจัยก็จะทำการอภิปรายผลที่เกิดขึ้น
ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
วิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่
ปลูกข้าวโพดในห้องทดลองที่ควบคุมอุณหภูมิให้เป็น 20 องศา
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงย้อนรอย (expost facto research)
ซึ่งเป็นตัวแปรอิสระผลอย่างนี้จะเกิดจากเหตุอะไร
คนที่ไม่ได้เดินทางไปต่างถิ่นนั้น ติดเชื้อโควิดจากเหตุอะไร
แล้วหาความสัมพันธ์ว่าเหตุ1กับผลที่ตั้งไว้ เหตุ 2 หรือเหตุ3คู่เหตุผลคู่ใดที่มีความสัมพันธ์กัน ก็จะสรุปว่าเป็นสาเหตุของผลนั้น
เริ่มจากกำหนดผลหรือตัวแปรตามก่อนแล้วค่อยค้นหาสาเหตุ
เป็นการวิจัยที่ศึกษาจากผลไปหาเหตุ
การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research)
ในการเก็บข้อมูลนั้น survey หมายถึงสำรวจ(ถาม)ทุกคน
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณะอย่างไรจำนวนเท่าไร
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
มีการทดลอง
การวิจัยเชิงประเมินผล (evaluative research)
ประเมินว่า contextคือบริบทของงานที่ประเมินเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์กับปัญหาสอดคล้องกันไหม
ประเมินผลอาจใช้ CIPP
input
ปัจจัยนำเข้า
เช่น
งบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์ ฯลฯ เพียงพอไหม
process คือกระบวนการทำได้ครบไหมมีปัญหาอะไรเข้ามาแทรกไหม
product คืผลผลิต
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน
ไม่มีการทดลองใดๆในการวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research)
หาความสัมพันธ์ตัวแปรบางตัวในอดีตกับปัจจุบัน
เพื่อทำนายว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร
ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้นปัจจุบันเป็นอย่างไร
ประเภทของการวิจัยแบ่งตาม
ลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
การวิจัยแบบผสม
(mixed methods)
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
แบบคู่ขนาน
การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research)
6.แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง
(Sample survey research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study)
ใช้จำนวนตัวอย่างไม่มากนัก
เป็นการศึกษาเรื่องที่สนใจในขอบเขตจำกัดหรือแคบ ๆ
การศึกษาเฉพาะกรณี
การวิจัยแบบสำมะโน (Census research)
เป็นการวิจัยวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยของประชากร
การวิจัยจากการสังเกต (Observation research)
นิยมใช้มากทางด้าน
มนุษยวิทยาเป็นการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลในสังคมในแง่ของ
Status
Role
วิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยเก็บข้อมูลมาจากการทดลอง
ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทำ (Treatment)
โดยมีการทดลองการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ
การวิจัยจากเอกสาร
(Documentary research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
รายงาน
จดหมายเหตุ
เอกสาร
ศิลาจารึก
แล้วเสนอผลในเชิงวิเคราะห์
การศึกษาแบบต่อเนื่อง (Panel study)
เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาของกลุ่มตัวอย่าง
ช่วยให้เข้าใจและทราบถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงได้
เป็นการศึกษาที่มีการเก็บข้อมูลเป็น ระยะ ๆ
Conceptualization
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการเขียน
เขียนแล้วได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี(Theoretical framework)
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
Theoretical framework
เขียนครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
มักเขียนเป็น diagram
เขียนแสดงความสัมพันธ์ เชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
Conceptual framework
เลือกเขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้อง เกี่ยวข้องของตัวแปรและอธิบายเหตุผลที่ไม่ได้เขียนถึงตัวแปรครบทุกตัว
การเขียน
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
กำหนขอบเขตการวิจัย
ทำให้อยู่ในinclusion criteria
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
นักเรียน ครอบครัว ครู โรงเรียน
ปัจจัยด้านครอบครัวและโรงเรียนที่มีอิทธิพล….
กำหนดขอบเขต
เลือกศึกษาในโรงเรียนเดียว/ห้องเรียนเดียว
ที่มีครูและนักเรียนเป็นคนเดียวกัน
ปัจจัยด้านครูและนักเรียนคงที่
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้theoretical concept มาเขียน
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอจึง comment ไม่ได้
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
นางสาว นวรัตน์ ร้อยอำแพง รุ่นที่ 36/1 รหัสนักศึกษา 612001058 เลขที่ 57
แหล่งที่มา:อาจารย์ เยาวลักษณ์ มีบุญมาก.เอกสารประกอบการสอนวิจัยทางการพยาบาล.สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พ.ค.2563