Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of passage, นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา…
Abnormality of passage
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้ (Abnormality of true pelvis)
เชิงกรานแคบ (Pelvic contraction)
เชิงกรานแตกหรือหัก (Pelvic fracture)
เชิงกรานรูปร่างผิดปกติ ผิตสัดส่วน หรือพิการ (Pelvic abnormalities)
สาเหตุ
การเจริญเดิบโตผิดปกติมาตั้งแต่กำเนิด
พิการมาตั้งแต่กำเนิด
ส่วนสูงน้อยกว่า 140 เซนติเมตร
ขาดฮอร์โมนเพศหญิง
เชิงกรานยังไม่เจริญเต็มที่ (อายุน้อยกว่า 18 ปี)
เชิงกรานยืดขยายลำบาก (อายุมากกว่า 35ปี)
เป็นโรคกระดูก เนื้องอกหรือวัณโรคกระดูก
อุบัติเหตุที่ทำให้เชิงกรานหักแตก หรือเคลื่อน
ผลกระทบ
1. ผลกระทบของเชิงกรานแคบที่ช่องเข้า
เกิดการคลอดยาวนานคลอดยากหรือการคลอดหยุดชะงัก
ผลต่อการดำเนินการคลอด
ทารกผ่านซ่องเชิงกรานได้ยากหรือไม่ได้เลย
ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า
ทารกมักมีส่วนนำผิดปกติ
ผลต่อผู้คลอดและทารก
ส่วนนำที่กดช่องทางคลอดเป็นเวลานาน ส่งผลให้ขาดเลือดมาเลี้ยง เกิดเป็นเนื้อตาย
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดหรือแตกในระยะต้นๆ ของการเจ็บครรภ์
มดลูกแตก (uterine rupture)
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ เลือดเป็นกรด เกิดความกลัว วิตกกังวล
ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal distress
ทารกมี molding มากกว่าปกติ
ทารกเกิด caput succedoneum, cephalhematoma ได้สูง
ทารกเกิดเนื้อตายของหนังศีรษะ
2. ผลกระทบของเชิงกรานแคบที่ช่องภายใน (Midpelvic contraction)
ผลต่อการดำเนินการคลอด
ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำช้า
การหมุนภายในของศีรษะทารกถูกขัดขวาง
การหดรัดตัวของมดลูกไม่มีประสิทธิภาพ
ผลต่อผู้คลอดและทารก
ผลกระทบคล้ายกับผลกระทบของเชิงกรานแคบที่ช่องเช้า
3. ผลกระทบของเชิงกรานแคบที่ซ่องออก (outlet contraction)
การคลอดศีรษะยาก
การคลอดไหล่ยาก
ฝีเย็บฉีกขาดและยืดขยายมาก
ผู้คลอดอาจถูกทำสูติศาสตร์หัตถการ
4. ผลกระทบของเชิงกรานแคบทุกส่วน
มีผลกระทบต่อทุกระยะของการคลอดจะทำให้เกิดการคลอดติดขัดส่วนนำของทารกไม่สามารถเข้าสู่ช่องเชิงกรานได้
5. ผลกระทบของเชิงกรานแตกหรือหัก
เมื่อกระดูกหักจะมีกระตกใหม่งอกและ
หนาตัวขึ้น หรืออาจเชื่อมต่อกันแล้วไม่เข้ารูปตามเดิม จึงมีรูปร่างผิดปกติไป ไม่สามารถคลอดทาง
6. ผลกระทบของเชิงกรานรูปร่างผิดปกติ ผิดสัดส่วน หรือพิการ
ทำให้ผู้คลอดไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ จำเป็นต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การดูแลรักษา
การดูแลรักษาในรายเชิงกรานแคบที่ช่องเข้า
ทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผู้คลอดที่ส่วนนำกับช่องเชิงกรานผิดสัดส่วนไม่มาก อาจพิจารณาให้ทดลองคลอดทางหน้าท้องก่อน หากการคลอดไม่ก้าวหน้าควรทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผู้คลอดที่ผ่นการคลอดหลายครั้งแล้ว เฝ้าระวังอาการแสดงของภาวะมดลูกใกล้จะแตก
งดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดที่ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ ควรเตรียมการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การดูแลรักษาในรายเชิงกรานแคบที่ช่องภายใน
ส่งเสริมให้ผู้คลอดใช้แรงเบ่งจากการหดรัดตัวของมดลูกตามธรรมชาติ
ในรายที่ส่วนนำผ่านลงมาแล้ว แพทย์ช่วยคลอตโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ มักใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยดึงศีรษะทารกออกมา
ในรายที่ส่วนนำไม่สามารถเคลื่อนผ่าาน ischia spine ลงมาได้ ควรผ่าตัดคลอดทาง
หน้าท้อง
การดูแลรักษาในรายเชิงกรานแคบที่ช่องออก
ควรตัดผีเย็บให้กว้างพอเพื่อป้องกันการฉีกขาด เพราะในรายที่ช่องออกแคบมักทำให้ฝีเย็บฉีกขาดไต้มากขึ้น
การพยาบาล
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที - 1 ชั่วโมง
ผู้คลอดที่ถุงน้ำแตก จัดให้นอนพักบนเตียง และทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเมื่อสกปรก รวมทั้งใส่ผ้าอนามัยซับน้ำคร่ำ หากมีขี้เทาปนออกมาในน้ำคร่ำควรให้ออกซิเจนแก่มารดาและจัดให้นอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตภาวะตกเลือด ภาวะชัก หรือการติดเชื้อในโพรงมดลูก
ตรวจการเปิดขยายของปากมดลูก รวมทั้งการบวมของปากมดลูกและหนังศีรษะทารก ทุก 2 ชั่วโมง
ตรวจดูการเคลื่อนต่ำและการหมุนภายในของส่วนนำ
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดด้วย WHO partograph โดยบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 30 นาที และสอบถามการดิ้นของทารกด้วย
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่างอยู่เสมอ
ดูแลความสุขสบายร่างกาย และบรรเทาความเจ็บปวด
ผู้คลอดที่กลัวและกังวลมากควรอธิบายแผนการรักษา อยู่เป็นเพื่อนปลอบโยนให้กำลังใจ
รายที่แพทย์พิจารณาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ต้องเรียมร่างกายและจิตใจ
ของผู้คลอด
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน (Cephalopelvicdisproportion:CPD)
สาเหตุ
มักเกิดจากความ
ผิดปกติของช่องเชิงกรานทุกชนิด หรือความผิดปกติของทารก
ผลกระทบ
การคลอดยาก คลอดยาวนานคลอดหยุดชะงักหรือคลอดติดขัต
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
มดลูกแตก
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
ช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ความผิดปกติของช่องทางคลอดส่วนที่เป็นกล้ามเนื้อและเอ็น
ปากช่องคลอดและฝีเย็บผิดปกติ
ช่องคลอดผิดปกติ
ปากมดลูกผิดปกติ
ปากมดลูกบวม
มะเร็งปากมดลูก
มดลูกอยู่ผิดที่ (uterine displacement)
6.1 มคลูกคว่ำหน้า (anteflexion)
6.2 มคลูกคว่ำหลัง (elofexo)
เนื้องอก
7.1 Myoma uteri
7.2 Benign ovarian tumor
การดูแลรักษา
1. มีความผิดปกติของปากช่องคลอด
1.1 ปากช่องคลอดตีบรายที่เกิดจากรอยแผลเป็นควรตัดฝีเย็บช่วยขณะคลอด แล้วเย็บให้ภายหลังคลอด ส่วนรายที่ตีบมากควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
1.2 ฝีเย็บแข็งตึงควรตัดผีเย็บให้กว้างพอป้องกันการฉีกขาดเพิ่มเติม
1.3 ปากช่องคลอดบวมหรือมีเลือดคั่งควรผ่าตัดระบายเอาเลือดออกแล้วให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ
2 มีความผิดปกติของช่องคลอด
2.1 ช่องคลอดตีบโดยกำเนิด สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
2.2 การมีผนังกั้นในช่องคลอดในรายที่มีผนังกั้นไม่มากมักจะฉีกขาดได้เอง ส่วนรายที่ผนังหนามากไม่สามารถขาดได้เองต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
2.3 มีถุงน้ำหรือเนื้องอก ควรเจาะเอาถุงน้ำออกจะช่วยให้คลอดได้ง่ายขึ้น กรณีมีก้อนเนื้องอกขนาดไม่ใหญ่มักไม่ทำอะไร จนกว่าจะคลอด
3. มีความผิดปกติของปากมดลูก
3.1 ปากมดลูกตีบ ปกติในระยะคลอดปากมดลูกจะนุ่มลงเอง แต่ถ้ายังเหนียวมากอาจต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3.2 ปากมดลูกแข็ง ช่วยโดยใช้นิ้วมือใส่เข้าไปในรูปากมดลูกช่วยขยายโดยรอบ จะทำให้ปากมดลูกขยายมากขึ้น ถ้าไม่ได้ผลควรทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3.3 ปากมดลูกด้านหนาบวม ควรจัดให้ผู้คลอดนอนตะแคง ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น เพื่อลดการกดบนปากมดลูก ส่วนรายที่เบ่งก่อนเวลาควรสอนการหายใจเพื่อไม่ให้รู้สึกอยากเบ่ง
3.4 มะเร็งปากมดลูกผู้คลอดต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทุกราย
4. มีความผิดปกติของมดลูก
4.1 มดลูกคว่ำหน้า ใช้ผ้ารัดหน้าท้องเพื่อประคองให้มดลูกอยู่ในตำแหน่งปกติ
4.2 มดลูกคว่ำหลัง มักคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
4.3 เนื้องอกของมดลูกมักทำให้แท้งคลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด ถ้าก้อนเนื้อมีขนาดใหญ่จะทำให้การคลอดติดขัด ควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
5. ความผิดปกติของรังไข่
ได้แก่ เนื้องอกรังไข่ ต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและตัดก้อนเนื้องอกออก
การพยาบาล
ประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์
รายที่มดลูกคว่ำหน้า ดูแลพันผ้ารัดหน้าท้องประคองมดลูกไว้ให้กลับสู่ตำแหน่งปกติ
รายที่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ควรดูแลป้องกันภาวะขาดน้ำในผู้คลอด ภาวะขาดออกชิเจนในทารก ช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ตัดฝีเย็บให้กว้างเพียงพอ
รายที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ควรเตรียมร่างกายและจิตใจเพื่อการผ่าตัด
คลอตทางหน้าท้อง
นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย
เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา 601401016