Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนองค์กร (Organization Development Tools) - Coggle…
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนองค์กร
(Organization Development Tools)
การบริหารที่ยืดวัตถุประสงค์เป็นตัวกำหนด (MBO : Management by objective)
กำหนดวัตถุประสงค์ (Setting of objectives) ต้องชัดเจน ระบุการปฏิบัติงาน ระยะเวลาเกณฑ์ต่าง ๆ ผู้ปฏิบัติมองเห็นทิศทาง ที่จะดำเนินการอย่างเด่นชัด
2.ปรับโครงสร้างขององค์การ (Revision of organization structure) มีการกำหนดลักษณะงาน(Job description)ให้เอื้อในการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดจุดตรวจสอบ (Estabishing check points) มีการประชุมระหว่างหัวหน้ากับลูกน้องเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน โดยดูตามมาตรฐาน มาตรฐานต้องเหมาะสมเป็นไปได้เชิงปริมาณ ชัดเจน
การประเมินการปฏิบัติงาน(Appraisal of performance) หัวหนเป็นคนตัดสินด้วยสติปัญญา1-2 ครั้งปี ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน/ผลกี่คาดหวัง
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle : QCC,QC)
1.วางแผน (Plan: P) ค้นหาปัญหา (โอกาสพัฒนา) วิเคราะห์ข้อมูลสาเหตุของปัญหาระดับของปัญหาเลือกวิธีแก้ปัญหา
2.การปฏิบัติ (DO:D) นำวิธีแก้ปัญหาที่เลือกไปปฏิบัติ
3.การตรวจสอบ (Check: C) เปรียบเทียบก่อนและหลังว่าแตกต่างกันอย่างไรพร้อมหาสาเหตุแก้ไข
4.การแก้ไขปรับปรุง (Action: A) หากเป็นที่พอใจและยอมรับทุกฝ่ายนำไปกำหนดมาตรฐานและเผยแพร่นอกจากนี้เทคนิคในการทำกิจกรรมคุณภาพจะประกอบไปด้วยผังก้างปลา
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total quality management: TQM)
การมอบหมายงานแก่พนักงาน (Employee Empowerment) ขยายงานสู่พนักงานระดับล่างเพื่อเพิ่มระดับความรับผิดชอบเป็นการผลักดันให้เกิดการติดสินใจ
การกำหนดมาตรฐานเทียบเคียง (Benchmarking) การเลือกมาตรฐานการปฏิบัติงานอาจเปรียบเทียบกับหน่วยงานที่ได้รับการยอมรับและนำส่วนที่ดีมาใช้เพื่อให้เป็นสิ่งที่ดีที่สุด
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) Kaizen โดยใช้ PDCA เป็นวิธีชีวิตการเดินทางไม่ใช่จุดหมายปลายทาง
การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี (Just in time: JIT) ทำให้ลดสินค้าคงเหลือเช่นการให้ยาแบบ Day dose
Taguchi technique การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกแบบเพื่อให้ได้คุณภาพที่คงที่
ความรู้ในการใช้เครื่องมือ (Knowledge of TQM tools) สำหรับตัวอย่างกิจกรรมคุณภาพที่ใช้ในโรงพยาบาลเช่นกิจกรรม 5 ส สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย
การบริหารปรับปรุงองค์การแบบ six Sigma
Measurement เป็นการขั้นตอนการปฏิบัติงานมากที่สุดวางแผนกำลังคนทำการวัดในสิ่งที่จำเป็นซึ่งเป็นการประเมินปัญหาและระบุปัญหาบันทึกผลลัพธ์ที่ได้
Analyze เป็นการวิเคราะห์ว่าปัญหาต่าง ๆ เริ่มมาจากที่ใดเพื่อหาทางแก้ไขโดยการเปรียบเทียบศักยภาพขององค์การและคู่แข่งวิเคราะห์ช่องว่างของกระบวนการทำงานต่าง ๆ
Improvement การแก้ไขกระบวนการในขั้นนี้ black belt จะเป็นผู้ระบุลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้บรรลุผลในการปฏิบัติงานและบรรลุวัตถุประสงค์
Control การควบคุมในขั้นนี้ถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อช่วยให้ black belt กำหนดมาตรการต่างๆเพื่อเป็นตัวควบคุมตัวแปรที่สำคัญให้อยู่ในช่วงมาตรฐาน
ระบบการบริหารแบบลีน (Lean Management System)
1.(value-Added Activities หรือ VA) คือกิจกรรมใดๆก็ตามที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุดิบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
2.กิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่า (Non-Value Added Activities หรือ NVA) คือกิจกรรมใดๆที่ใช้ทรัพยากรเช่นเครื่องจักรเวลาพนักงานแต่ไม่ได้มีส่วนในในการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าซึ่งบางครั้งจะเรียกกิจกรรมเหล่านี้ว่า“ ความสูญเปล่า” เราสามารถแบ่งกิจกรรมที่สูญเปล่าได้เป็น
2.1กิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่าแต่จำเป็นต้องทำกิจกรรมเหล่านี้ไม่สามารถกำจัดทิ้งได้ทันทีแต่ต้องลดให้เหลือเท่าที่จำเป็น
2.2กิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่าและไม่มีความจำเป็นต้องทำเป็นกิจกรรมที่สามารถกำจัดทิ้งได้ทันที
องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning organization : LO)
Mental Model การยึดติดในใจ อดติ ความฝังใจ โลกทัศน์หรือความคิดความเข้าใจที่คนมีต่อโลก วิธีการคิดของคนที่มีต่อตนเอง ผู้อื่น หรือสิ่งอื่น ๆ
Personal Mastery ความเป็นเซียนส่วนบุคคล ความเชี่ยวชาญระดับพิเศษของบุคคลทำให้คนเข้าใจลึกซึ้งในเป้าหมายของชีวิต สามารถ กำหนดวิถีชีวิตของตนเองได้
Share vision ฝันเดียวกัน สมาชิกในองค์การมีการกำหนดเป้าหมาย (Goals) ค่านิยม(Value)การมีวิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (Mission)
System thinking ระบบการคิดของคนในองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ สิ่งต่าง ๆ มีการเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ
Team learningการเรียนรู้เป็นทีม กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ ระหว่างสมาชิกในองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
การบริหารจัดการความรู้(Knowledge Management : KM)
Tacit Knowledge ทักษะจากประสบการณ์ไม่สามารถบรรยายเป็นถ้อคำ หรือสูตรซ่อนเร้น ฝังลึกขึ้นกับความเชื่อทักษะในการกลั่นกรองความรู้พัฒนาและแบ่งปันกันได้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
Explicit Knowledge บรรยาย/ถ่ายทอดเป็นทฤษฎี การแก้ไขปัญหา คู่มือฐาน ข้อมูลทุกคนสามารถเข้าถึงได้สำหรับกิจกรรมที่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการความรู้
การบริหารการเปลี่ยนแปลง(Change management)
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ(Implementing Change)
การติดตามประเมินผลและรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award
:PMQA)
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสำคัญกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
ทำงานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสำคัญ
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์(RESULT BASED MANAGEMENT - RBM)
3.ประเมินความคิดและให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุง
4.นำความคิดไปปฎิบัติ
2.ดำเนินการตามขั้นตอนการเสนอความคิด
5.ทบทวนเพื่อขยายความคิด
1.กระตุ้นและเปิดรับความคิด
6.ยกย่อง ชมเชยและประกาศความสำเร็จ
7.วัดผล ทบทวน ปรับปรุง