Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of power (ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก),…
Abnormality of power
(ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก)
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
( Hypotonic uterine dysfuntion/ uterine inertia)
ความหมาย
การหดรัดตัวที่มีแรงดันในโพรงมดลูกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 mmHg
ในขณะมดลูกหดรัดตัว น้อยกว่า 10 mmHg
ขณะพัก หรือ หดรัดตัวตัวน้อยกว่า 3
ครั้งใน 10 นาที intensity +1 หรือ +2
ลักษณะผิดปกติที่พบ
Duration < 40 วินาที Interval > 3 นาที หรือ
มีการหดรัดตัว น้อยกว่า 3 ครั้งใน 10 นาที
ความแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
อยู่ระดับน้อยถึงปานกลางหรือแรงดันในโพรงมดลูกน้อยกว่า 15 mmHg
สาเหตุ
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
มดลูกมีเนื้องอก myoma uteri
มีถุงน้ำที่รังไข่ ovarian cyst หรือ
ผนังมดลูกเจริญเติบโตไม่ดี
มดลูกมีการขยายตัวมากกว่าปกติ
ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ ทารกตัวโต
ผู้คลอดครรภ์หลัง โดยเฉพาะรายผนังหน้าท้องหย่อน pendulus abdomen
ส่งผลให้มดลูกขาดความตึงตัว
ขาดการกระตุ้น Ferguson’s reflex
ส่วนนำไม่กระชับกับปากมดลูก หรือ
พื้นที่เชิงกราน ทำให้ขาดกลไก
การกระตุ้นให้เกิดการหดรัดตัว
ของมดลูกได้แก่
1.ทารกอยู่ในท่าทรง ส่วนปกติ
2.Cephalopelvicdisproportion : CPD
3.ช่องเชิงกรานแคบ Contracted pelvis
4.ทารกตัวเล็ก กระเพาะปัสสาวะเต็ม หรือลำไส้ส่วนปลายเต็ม
ปัจจัยอื่นๆ
ได้รับยาระงับปวดก่อนเวลาที่เหมาะสม
ก่อนปากมดลูกเปิด 3-4 cm หรือ
ได้รับมากเกินไป กล้ามเนื้อมดลูกผิดปกติ
เจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน
เจ็บปวดจาการคลอดมาก
อ่อนเพลีย ขาดน้ำขาดอาหาร
ภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่
ด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
ผลกระทบ
คลอดล่าช้าในระยะที่ 1 ของการคลอด เนื่องจาก
มดลูกหดรัดตัว น้อยเกินไปทำให้ปากมดลูกเปิดขยายช้า
เกิดการคลอดยาก หรือ การคลอดล่าช้าในระยะที่ 2
ของการคลอด เนื่องจากแรงไม่มากพอที่จะผลัก ดันทารกให้เคลื่อนต่ำลง กลไกการก้ม
การหมุนไม่เต็มที่
มีโอกาสเกิด PPH
เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อาจเกิดถุงน้ำ หรือ เยื่อหุ้มทารกอักเสบ
หรือ ติดเชื้อในรายที่ ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง
เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีทำให้คลอดยาวนาน
มีภาวะขาดน้ำ ขาดความสมดุลของเกลือแร่ หรือ
น้ำตาลในเลือดต่ำ เนื่องจากคลอดยาวนาน
โดยเฉพาะรายที่ได้รับสารน้ำและ
อาหารไม่เพียงพอ หรือ NPO
1 more item...
การประเมินสภาพ
1.ซักประวัติเกี่ยวกับ การคลอด ทารกตายในครรภ์
ทารกขาดออกซิเจน
2.ตรวจครรภ์ พบท่าทารกผิดปกติ มดลูกขนาดใหญ่หรือ ผนังหน้าท้องหย่อนยาน ทารกตัวโต ทารกตัวเล็ก ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
3.ตรวจภายในพบ ท่าทารกผิดปกติ ส่วนนำอยู่สูง
ไม่มีการเคลื่อนต่ำลง หรือ ช่องเชิงกรานแคบ
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก Duration <40 วินาที Interval > 3 นาที หรือ ภายใน 10 นาที มีcontraction < 3 ครั้ง intensity +1 หรือ +2
5.ประเมินความก้าวหน้า ของการคลอดเกี่ยว
กับการเปิดขายของปากมดลูก การเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก และ ระยะเวลาการคลอด
5.1 ระยะที่ 1 ของการคลอด
latent phase ใช้เวลา > 20 ชม.
Active phase > 5 ชม.ในรายคลอดครั้งแรก
ส่วนรายที่คลอดครั้งหลัง latent phase >14ชม. Activephase >2.5 ชม.
5.2 ระยะที่ 2 ของการคลอด ใช้เวลา >1ชม.ในครรภ์แรก
ครรภ์หลังใช้เวลา > 30 นาที
6.ได้รับยาบรรเทาอาการปวดมากเกินไป หรือ
ก่อนถึงเวลาที่เหมาะสม
ประเมินด้านจิตสังคมเกี่ยวกับความสัมพันธ์
ในครอบครัวแบบแผนเผชิญความเครียด ความเข้าใจ
ในภาวะสุขภาพของตน
การพยาบาล
ส่งเสริมการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ดีขึ้น
1.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมง
2.กระตุ้นให้ลุกเดินในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว ถุงน้ำยังไม่แตก และส่วนนำ
เข้าสู่ช่องเชิงกรานแล้วกระตุ้นให้ผู้คลอดลุกเดินหรือถ้าลุกเดินไม่ได้ให้ นอนตะแคง
ท่าศีรษะสูง ช่วยเกิด Ferguson’s reflex
3.ดูแลผู้คลอดที่
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
4.ดูแลให้ได้รับการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ถ้าไม่มีข้อห้ามเมื่อ เข้าสู่ Active phase
5.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
เพื่อดูความก้าวหน้าของการคลอด ระยะที่ 1 ทุก 30 นาที และ ระยะที่ 2 ทุก 15 นาที หากพบการหดรัดตัวไม่ดีรายงานแพทย์พิจารณาให้ยากระตุ้นการหดรัด
ตัวของมดลูก
6.ตรวจภายใน
ประเมินการขยายของปากมดลูก ระดับส่วนนำ การหมุนภายในของทารก
1 more item...
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
( Hypertonic uterine dysfunctions )
ความหมาย
การหดรัดตัวที่มีแรงดันในโพรงมดลูก
เฉลี่ยมากกว่า 50 mmHg Duration >90 วินาที
Interval < 2 นาที intensity +3 หรือ +4
มดลูกหดรัดตัวรุนแรงแต่ ไม่เป็นจังหวะไม่สม่ำเสมอไม่ประสานกัน
พบได้ร้อยละ 2 เช่นการหดรัดตัวแบบไม่คลาย Tetanic contraction
การหดรัดตัวแบบไม่ประสานกัน In-coordinate
uterine contraction และการหดรัดตัวเฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
ภาวะมดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติแบบไม่คลาย
(Tetanic contraction )
ความหมาย
Interval < 90 วินาทีมดลูก
หดรัดตัวแข็งตึงมาก นาน ถี่ ระยะพักสั้น
หรือ ไม่มี ระยะพักเลย
Duration > 90 วินาที Interval < 90 วินาที
สาเหตุ
การคลอดติดขัด obstructed labor
ท่าทารกในครรภ์ ท่าผิดปกติ หรือ มีภาวะ CPD
ส่งผล ให้มดลูก หดรัดตัว มากขึ้นเพื่อขับทารก
ลงมาใน ช่องทาง คลอด
แต่ทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงมาได้
มดลูก ส่วนบน ถูก ดึงรั้ง ขึ้นมาก มดลูก
ส่วนล่าง ยืดขยายขึ้น เรื่อยๆ ผนังมดลูก บางขึ้นเรื่อยๆ เกิดรอยคอด คล้ายวงแหวน
ระหว่าง กล้ามเนื้อ มดลูก ส่วนบน และส่วนล่าง Bandl’s ring
สาเหตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่ การคลอดติดขัด
non -obstructed labor
ได้รับยากระตุ้น การหดรัดตัว ของมดลูก
ไม่ถูกวิธี เร็วเกินไป หรือ ให้ขนาดมากเกินไป
รกลอกตัว ก่อนกำหนด
ผลกระทบ
1.ผู้คลอด เจ็บครรภ์ คลอดมาก เจ็บเกือบ
ตลอดเวลา ขณะ มดลูก คลายตัว อาจยังเจ็บและเจ็บมากขึ้น เมื่อมดลูกมด หดรัดตัว
กระสับกระส่าย จับต้องมดลูก ไม่ได้
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ขาดน้ำ ขาดความ
สมดุลของ เกลือแร่ น้ำตาล ในเลือดต่ำจากการเจ็บ ครรภ์ คลอดมาก และพักผ่อนไม่เพียงพอ
3.ทารก ในครรภ์ มีโอกาส ขาด ออกซิเจน
เนื่องจาก การไหล เวียนเลือด ที่มดลูก และรกลดลงมาก หากช่วยเหลือช้า ทารก เสียชีวิต
อาจเกิด มดลูกแตก จากมดลูก หดรัดตัว
มาก ทำให้ ตกเลือด สาเหตุ จาก การคลอดติดขัด ส่งผล ให้มารดา และทารก เสียชีวิต
5.ต้องได้รับการ C/S ในรายที่มีภาวะ CPD
การพยาบาล
1.ประเมิน การหดรัดตัว ของมดลูก ถ้า D> 60 วินาที
I < 2 นาที หรือ ไม่คลายตัว รีบราย งานแพทย์
ในราย ที่ได้รับ ยากระตุ้น การหดรัดตัวของ
มดลูก ให้หยุดยาทันที
จัดท่านอนตะแคง ซ้าย ให้ออกซิเจน 8-10 lit/min
เพื่อ ส่งเสริม ทารก ได้รับ ออกซิเจน อย่างเพียงพอ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที หรือ ประเมิน Sonicaid
หรือ Continuous- fetal heart rate monitoring หากพบ อัตรา หรือ จังหวะ ผิดปกติ หรือ พบขี้เทา
ในน้ำคร่ำ รีบรายงาน แพทย์ เพื่อให้การรักษาต่ออย่าง ทันท่วงที
สังเกต อาการ ที่เตือนว่ามด ลูกใกล้ จะแตก เช่น
ปวด ทุรน ทุราย กระสับกระส่าย พักไม่ได้เลยมองเห็น Bandl’s ring เจ็บปวดหน้าท้อง สัมผัสไม่ได้
ถ้ามีอาการ ให้รีบรายงาน แพทย์ และเตรียมC/S
ประเมิน เลือดออก ทางช่องคลอด
หรือ ภาวะ Hypovolemic shock
1 more item...
การประเมินสภาพ
การซักประวัติประวัติทารกขาดออกซิเจน
ได้รับยาเร่งคลอดมากหรือ เร็ว เกินไป
ตรวจครรภ์ พบ ทารกท่า ผิดปกติ CPD
PV. พบ ปากมดลูก ไม่เปิด ขยายเพิ่ม
ส่วนนำไม่ เคลื่อนต่ำลง
ประเมิน การหด รัดตัว ของมดลูก D > 60 วินาที I < 2
นาที intensity +3 หรือ +4 มารดารู้สึก เจ็บปวดมาก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
6.ประเมิน ด้านจิตสังคมเกี่ยวกับการเผชิญ
ความเครียด ความวิตกกังวล
การหดรัดตัว มากกว่าปกติแบบไม่ประสานกัน
(In-coordinate uterine contraction)
ความหมาย
มดลูก หดรัดตัว ถี่และ แรงมาก ไม่สม่ำเสมอ
ใยกล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกันทำให้มดลูกหดรัดตัวแรงมาก
แต่ที่บริเวณตรงกลาง หรือตอนล่างของ มดลูก แรงดันใน โพรงมดลูก >60 mmHg
ปัจจัยเสริม
ผู้คลอด มีความ วิตกกังวล และ ความกลัว มาก
มีความ เจ็บ ปวดรุนแรง ทำให้หลั่ง catecholamine มากขึ้น ส่งผลให้ มดลูก หดรัดตัว มากกว่า ปกติ
ผู้คลอด ครรภ์แรก พบมากกว่า ครรภ์หลัง
ผู้คลอดอายุมาก
ผู้คลอดที่ ผ่านการ คลอดหลาย ครั้ง > 5
ภาวะ CPD
ภาวะทารก ในครรภ์ท่า ผิดปกติ
ผลกระทบ
การซักประวัติ เกี่ยวกับการคลอดยาก
หรือคลอดยาวนาน
ตรวจครรภ์ พบ ทารกท่า ผิดปกติ CPD
PV. พบ ปากมดลูก ไม่เปิด ขยายเพิ่ม
ส่วนนำไม่ เคลื่อนต่ำลง
ประเมิน การหด รัดตัว ของมดลูก มีการหด รัดตัว
แรงมาก แรงดันใน โพรงมดลูก มากกว่า 60 mmHgหดรัดตัวแรงมาก ที่ตอนกลาง หรือ ส่วนล่าง
ของมดลูก ไม่พบแรงที่ ยอดมดลูก และพบระยะพักกล้ามเนื้อ มดลูกคลาย ตัวไม่เต็มที่
ประเมิน ความก้าวหน้า ของการคลอด
6.ประเมิน ด้านจิต สังคมเกี่ยวกับ การเผชิญ ความเครียด
ความวิตกกังวล
การพยาบาล
1.ประเมิน การหดรัดตัว ของมดลูก ตำแหน่งการเริ่ม
หดรัดตัว บริเวณที่มี การหดรัดตัว แรงที่สุด ความสม่ำเสมอ
ถ้าพบ จังหวะไม่สม่ำเสมอไม่เริ่มหดรัดตัว ที่ยอดมดลูกการหดรัดตัว ไม่แรงที่ยอด มดลูก ควรรายงานแพทย์
เพื่อให้ การรักษา ต่อไป
2.จัดท่านอนตะแคงซ้าย และให้ออกซิเจน 5 lit /min
3.จัดให้พักผ่อน ในสถานที่สงบ และเป็น ส่วนตัว
เพื่อความสุขสบาย
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที หรือ ประเมิน Sonicaid
หรือ Continuous- fetal heart rate monitoring
หากพบอัตราหรือจังหวะผิดปกติหรือ พบขี้เทา
ในน้ำคร่ำ รีบรายงานแพทย์ เพื่อให้การรักษาต่ออย่างทันท่วงที
5.สนับสนุน การบรรเทา ปวดด้วยวิธีต่างๆ เช่น
การผ่อนลม หายใจ การนวด ก้นกบ การลูบหน้าท้อง เป็นต้น
การหดรัดตัว มากผิดปกติ
เฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
Pathological retraction ring
( Band’s ring )
กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างยืดขยาย และบางมาก
ในขณะที่ กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบน มีการหดเกร็ง เกิดรอยคอด
คล้ายวงแหวน ระหว่างกล้ามเนื้อมดลูกส่วนบน และส่วนล่าง มองเห็นชัดระดับต่ำกว่าสะดือ ถ้ารักษาไม่ทันมดลูกแตกได้
Physiological retraction ring (Constriction ring)
กล้ามเนื้อมดลูก ชนิดวงกลม มีการหดตัว
แบบไม่คลาย เฉพาะที่ เกิดเป็นวงแหวนรอยคอดบนตัวทารก เช่นบริเวณซอกคอ
สาเหตุ
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oligohydramnios
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในครรภ์ internal version
ภายหลังเด็กแฝดคนแรกคลอดแล้ว
ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
Manual removal of placenta
ผลกระทบ
1.ผู้คลอด มีอาการเจ็บครรภ์คลอดมาก
แตะบริเวณหน้าท้องไม่ได้เลย
2.มารดาและทารก อยู่ในภาวะคับขับ
ที่ต้องรีบให้การช่วยเหลือ
3.คลอดติดขัด อาจต้องC/S
4.ถ้าเกิด ในระยะที่ 3 ของการคลอด
จะทำให้ปากมดลูกปิด ส่งผลให้เกิดรกค้างและตกเลือดหลังคลอด
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
พบว่า เจ็บครรภ์คาลอด ตลอด ไม่มีระยะพักเมื่อสัมผัสท้อง รู้สึกเจ็บมากขึ้น
2.ตรวจร่างกาย
ตรวจหน้าท้อง พบ มดลูก หดรัดตัว
ไม่สม่ำเสมอ ไม่ประสานกับ ผู้คลอดรู้สึกเจ็บมาก
PV. พบ วงแหวน แต่ถ้าเกิด ในระยะรก พบว่า
รกยังไม่คลอด จากทารกคลอดเป็น เวลานาน
ฟัง FHS ไม่ได้ เนื่องจาก มดลูกแข็ง ตัวตลอด
แนวทางการรักษา
1.ให้ ยาระงับปวด เพื่อให้วงแหวน คลายตัว
แต่ถ้ามีภาวะ Fetal distress ต้องรีบ C/S วงแหวนจะคลาย
ตัวลงเมื่อ ได้รับยาสลบ
ถ้าเกิด ในระยะเบ่ง ควรให้ยา ระงับปวด
เพื่อให้ วงแหวนคลายตัว แล้วใช้สูติศาสตร์หัตถการ ช่วยคลอด
ระยะคลอด รก ถ้าไม่มี เลือดออก มาก ให้รออีก
ประมาณ 30 นาที วงแหวน จะคลายตัวลง แต่ถ้าเลือดออกมาก
ควรให้ยาสลบ แล้วทำการล้วงรก
ประเมินการขยายของปากมดลูก
หรือ Continuous- fetal heart rate monitoring หากพบ
7.ประเมินเชิงกราน
เพื่อตรวจภาวะเชิงกรานแคบ CPD
8.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
10.สอนวิธีการบรรเทาปวด ด้วยเทคนิคต่างๆ
เช่น การใช้เทคนิค การผ่อนลมหายใจ
การเพ่งจุดสนใจ การลูบ การนวด เป็นต้น
หากไม่ได้ผลควรรายงานแพทย์
เพื่อพิจารณาให้ยาบรรเทาปวด
11.อธิบายการดำเนินการคลอด และ
แผนการรักษา อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ
เพื่อคลายความวิตกกังวล
12.ฟัง FHS >160 /min หรือ < 100 / min
ให้ออกซิเจน 5 lit / min และรายงานแพทย์
13.ประเมิน V/S q 4 hr.
ดูแลให้ยาระงับปวด ตามแผนการรักษา
14.เตรียมอุปกรณ์การดูแลทารก และ
การฟื้นคืนชีพและทีมงานให้พร้อมใช้
Hypertoniic uteriine
dysffunctiions
ความหมาย
การหดรัดตัวที่มีแรงดันในโพรงมดลูก
เฉลี่ยมากกว่า 50 mmHg Duration >90 วินาที
Interval < 2 นาที intensity +3 หรือ +4
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง แต่ ไม่เป็น จังหวะ
ไม่สม่ำเสมอ ไม่ประสานกัน พบได้ร้อยละ 2 เช่น
การหดรัดตัวแบบไม่คลาย Tetanic contraction
การหดรัดตัวแบบไม่ประสานกัน In-coordinate
uterine contraction
และการหดรัดตัวเฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
Tetanic
contraction
ความหมาย
มดลูก หดรัดตัวแข็งตึงมาก นาน ถี่ ระยะพักสั้น
หรือ ไม่มี ระยะพักเลย Duration > 90 วินาที
Interval < 90 วินาที
สาเหตุ
การคลอดติดขัด obstructed labor
ท่าทารกในครรภ์ ท่าผิดปกติ หรือ มีภาวะ CPD
ส่งผล ให้มดลูก หดรัดตัว มากขึ้น
เพื่อขับทารก ลงมาใน ช่องทาง คลอด
แต่ทารกไม่สามารถ เคลื่อนต่ำ ลงมาได้
มดลูก ส่วนบน ถูก ดึงรั้ง ขึ้นมาก มดลูก
ส่วนล่าง ยืดขยายขึ้น เรื่อยๆ ผนังมดลูก
บางขึ้นเรื่อยๆ เกิดรอยคอด คล้ายวงแหวน
ระหว่าง กล้ามเนื้อ มดลูก ส่วนบน และ
ส่วนล่าง Bandl’s ring
สาเหตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่ การคลอดติดขัด
non -obstructed labor
ได้รับยากระตุ้น การหดรัดตัว ของมดลูก
ไม่ถูกวิธี เร็วเกินไป หรือ ให้ขนาด
มากเกินไป
รกลอกตัว ก่อนกำหนด
ผลกระทบ
1.ผู้คลอด เจ็บครรภ์ คลอดมาก เจ็บเกือบ
ตลอดเวลา ขณะ มดลูก คลายตัว อาจยังเจ็บ
และเจ็บมากขึ้น เมื่อมดลูกมด หดรัดตัว
กระสับกระส่าย จับต้องมดลูก ไม่ได้
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ขาดน้ำ ขาดความ
สมดุลของ เกลือแร่ น้ำตาล ในเลือดต่ำ
จากการเจ็บ ครรภ์ คลอดมาก และ
พักผ่อนไม่เพียงพอ
3.ทารก ในครรภ์ มีโอกาส ขาด ออกซิเจน
เนื่องจาก การไหล เวียนเลือด ที่มดลูก และ
รกลดลงมาก หากช่วยเหลือช้า ทารก เสียชีวิต
อาจเกิด มดลูกแตก จากมดลูก หดรัดตัว
มาก ทำให้ ตกเลือด สาเหตุ จาก การคลอด
ติดขัด ส่งผล ให้มารดา และทารก เสียชีวิต
ต้องได้รับการ C/S ในรายที่มีภาวะ CPD
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ระยะเวลาการเจ็บครรภ์คลอด พบว่า
เจ็บครรภ์คลอด นาน และ มากกว่า ปกติ
2.ตรวจร่างกาย
ตรวจการหดรัดตัว ของมดลูก พบ มดลูก หดรัดตัว
รุนแรง และ ถี่ขึ้น ระยะพักสั้น หรือ ไม่มีระยะ
พัก มีอาการ เจ็บครรภ์ มาก เมื่อสัมผัส บริเวณ
หน้าท้อง ส่วนล่าง รู้สึก เจ็บมาก
พบรอยคอด คล้าย วงแหวน ระหว่าง กล้ามเนื้อ
มดลูก ส่วนบน และ ส่วนล่าง มองเห็นได้
บริเวณต่ำกว่า ระดับ สะดือเล็ก น้อย
อาจ คลำพบ เอ็นด้านข้าง ของมดลูก ทั้งสอง
ข้าง เนื่องจาก มดลูก ถูกยก สูงขึ้น
ฟัง FHS ไม่ได้ เนื่องจากหน้า ท้องแข็ง ตึงมาก
PV. พบการคลอด ไม่ก้าวหน้า ส่วนนำ
ไม่เคลื่อนต่ำ ลง กระโหลก ศีรษะเกยกันมา พบ
Caput Succedaneum ขนาดใหญ่
แนวทางการรักษา
ถ้าพบ Pathologicalretraction ring ( Bandl’s ring)
ต้องรีบทำ C/S เพื่อป้องกัน ภาวะมดลูก
ฉีกขาด หรือ แตก ส่งผลให้ผู้คลอดตกเลือด
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ประวัติทารก ขาดออกซิเจน
ได้รับ ยาเร่งคลอด มากหรือ เร็ว เกินไป
ตรวจครรภ์ พบ ทารกท่า ผิดปกติ CPD
PV. พบ ปากมดลูก ไม่เปิด ขยายเพิ่ม
ส่วนนำไม่ เคลื่อนต่ำลง
ประเมิน การหด รัดตัว ของมดลูก D > 60 วินาที I < 2
นาที intensity +3 หรือ +4 มารดารู้สึก เจ็บปวดมาก
ประเมิน ความก้าวหน้า ของการคลอด
6.ประเมิน ด้านจิต สังคมเกี่ยวกับ การเผชิญ
ความเครียด ความวิตกกังวล
ข้อวินิจฉัย การพยาบาล
ทารกในครรภ์ เสี่ยงต่อ การเกิด ภาวะขาด
ออกซิเจน เนื่องจากมดลูก หดรัดตัว ไม่คลาย
ผู้คลอด เสี่ยงต่อการเกิด ภาวะมดลูก แตก เนื่อง
มดลูก หดรัดตัว ไม่คลาย
ผู้คลอด วิตกกังวล หรือ กลัว เนื่องจาก มดลูก
หดรัดตัว ไม่คลาย
ผู้คลอด ไม่สบาย เนื่องจาก มดลูก หดรัดตัว
ไม่คลาย
,จกรรมการพยาบาล
1.ประเมิน การหดรัดตัว ของมดลูก ถ้า D> 60 วินาที
I < 2 นาที หรือ ไม่คลายตัว รีบราย งานแพทย์
ในราย ที่ได้รับ ยากระตุ้น การหดรัดตัวของ
มดลูก ให้หยุดยาทันที
จัดท่านอนตะแคง ซ้าย ให้ออกซิเจน 8-10 lit/min
เพื่อ ส่งเสริม ทารก ได้รับ ออกซิเจน อย่างเพียงพอ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที หรือ ประเมิน Sonicaid
หรือ Continuous- fetal heart rate monitoring หากพบ
อัตรา หรือ จังหวะ ผิดปกติ หรือ พบขี้เทา
ในน้ำคร่ำ รีบรายงาน แพทย์ เพื่อให้การ
รักษาต่ออย่าง ทันท่วงที
สังเกต อาการ ที่เตือนว่ามด ลูกใกล้ จะแตก เช่น
ปวด ทุรน ทุราย กระสับกระส่าย พักไม่ได้เลย
มองเห็น Bandl’s ring เจ็บปวดหน้าท้อง สัมผัสไม่ได้
ถ้ามีอาการ ให้รีบรายงาน แพทย์ และเตรียมC/S
ประเมิน เลือดออก ทางช่องคลอด หรือ ภาวะ
Hypovolemic shock
ตรวจภายใน เพื่อประเมิน ความก้าวหน้า
ของการคลอด
ให้ IV ตามแผนการรักษา
จัดให้พักผ่อน ในสถานที่สงบ และเป็น ส่วนตัว
เพื่อความสุขสบาย
10 . ประคับ ประคอง ด้านจิตใจ อยู่เป็นเพื่อน และเฝ้า
ดูแลตลอด อธิบาย สาเหตุของ ความผิดปกติ แผนการรักษา
ให้ยาบรรเทา อาการปวด ตามแผนการรักษา
12 . อาจให้ยาลด การหดรัดตัว ของมดลูก ตามแผนการ
รักษา หากยังไม่ดี ขึ้น หลังการ ให้ยาบรรเทา อาการปวด
ตามแผนการรักษา สังเกตอาการ ข้างเคียง ของยา เช่น
ความดันโลหิต ต่ำ หัวใจ เต้นเร็ว ถ้า BP < 90/60 mmHg
P > 120 /min รีบรายงาน แพทย์
13.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะ ว่างโดย การกคะตุ่นให้
ปัสสาวะ ทุก 2-3 ชั่วโมงม
เตรียม C/S หาก การหด รัดตัว มากกว่าปกติ
แบบไม่คลาย ในรายที่ไม่ได้ เกิดจาก ยา Oxytocin
หรือ รกลอก ตัวก่อน กำหนด หรือ ในราย ทารก Fetal
distress หรือ มดลูก ใกล้แตก
In-coordinate
uterine contracti
ความหมาย
มดลูก หดรัดตัว ถี่และ แรงมาก ไม่สม่ำเสมอ
ใยกล้ามเนื้อ ทำงาน ไม่ ประสานกัน ทำให้ มดลูก
หดรัดตัว แรงมาก แรงตรง บริเวณ ตอนกลาง หรือ
ตอนล่างของ มดลูก แรงดันใน โพรงมดลูก >60 mmHg
ปัจจัยเสริม
ผู้คลอด มีความ วิตกกังวล และ ความกลัว มาก
มีความ เจ็บ ปวดรุนแรง ทำให้หลั่ง catecholamine
มากขึ้น ส่งผลให้ มดลูก หดรัดตัว มากกว่า ปกติ
ผู้คลอด ครรภ์แรก พบมากกว่า ครรภ์หลัง
ผู้คลอดอายุมาก
ผู้คลอดที่ ผ่านการ คลอดหลาย ครั้ง > 5
ภาวะ CPD
ภาวะทารก ในครรภ์ท่า ผิดปกติ
ผลกระทบ
เจ็บครรภ์ คลอดยาวนาน จากการ เปิดขยาย ของ
ปากมดลูก ล่าช้า หรือ ไม่เปิดขยาย
คลอดล่า ช้า จากภาวะ Constriction ring จะรัดตัว
ทารก ในครรภ์ ไม่ให้ เคลื่อนต่ำลง
เจ็บ มากกว่า ปกติ เนื่องจาก มดลูก หด
รัดตัวแรง และคลายตัว ไม่เต็มที่
ทารกมีโอกาส ขาด ออกซิเจน เนื่องจาก เลือดไหล
เวียนไป มดลูก และรกลดลง
ผู้คลอด มีอาการ เหนื่อย อ่อนเพลีย มากกว่า ปกติ
เนื่องจาก เจ็บครรภ์ มาก เจ็บครรภ์ นาน พักผ่อน ไม่ได้
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ เกี่ยวกับการคลอดยาก หรือ
คลอดยาวนาน
ตรวจครรภ์ พบ ทารกท่า ผิดปกติ CPD
PV. พบ ปากมดลูก ไม่เปิด ขยายเพิ่ม
ส่วนนำไม่ เคลื่อนต่ำลง
ประเมิน การหด รัดตัว ของมดลูก มีการหด รัดตัว
แรงมาก แรงดันใน โพรงมดลูก มากกว่า 60 mmHg
หดรัดตัวแรงมาก ที่ตอนกลาง หรือ ส่วนล่าง
ของมดลูก ไม่พบแรงที่ ยอดมดลูก และพบระยะพัก
กล้ามเนื้อ มดลูกคลาย ตัวไม่เต็มที่
ประเมิน ความก้าวหน้า ของการคลอด
6.ประเมิน ด้านจิต สังคมเกี่ยวกับ การเผชิญ ความเครียด
ความวิตกกังวล
.อ01จ2ยการพยาบาล
1.ผู้คลอด มีโอกาส เกิดการคลอดยาวนาน เนื่อง
จาก มดลูก หดรัดตัว ไม่ประสานกัน และเจ็บ
ครรภ์คลอด ยาวนาน
ผู้คลอด มีโอกาส เกิดภาวะ คับขัน จากมดลูก
หดรัดตัวไม่ประสานกัน
ทารกในครรภ์ มีโอกาส เกิดภาวะ ขาด ออกซิเจน
เนื่องจาก มดลูกหดรัดตัว ไม่ประสานกัน
ผู้คลอด วิตกกังวล กลัว เนื่องจาก มดลูก
หดรัดตัวไม่ ประสานกัน
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย จากการ คลอดยาวนาน
เนื่องจาก มดลูกหดรัดตัว ไม่ประสานกัน
,จกรรมการพยาบาล
1.ประเมิน การหดรัดตัว ของมดลูก ตำแหน่งการเริ่ม
หดรัดตัว บริเวณที่มี การหดรัดตัว แรงที่สุด
ความสม่ำเสมอ ถ้าพบ จังหวะ
ไม่สม่ำเสมอมไม่เริ่มหดรัดตัว ที่ยอดมดลูก
การหดรัดตัว ไม่แรงที่ยอด มดลูก ควรรายงานแพทย์
เพื่อให้ การรักษา ต่อไป
2.จัดท่านอนตะแคงซ้าย และให้ออกซิเจน 5 lit /min
3.จัดให้พักผ่อน ในสถานที่สงบ และเป็น ส่วนตัว
เพื่อความสุขสบาย
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที หรือ ประเมิน Sonicaid
อัตรา หรือ จังหวะ ผิดปกติ หรือ พบขี้เทา
ในน้ำคร่ำ รีบรายงาน แพทย์ เพื่อให้การ
รักษาต่ออย่าง ทันท่วงที
5.สนับสนุน การบรรเทา ปวดด้วยวิธีต่างๆ เช่น
การผ่อนลม หายใจ การนวด ก้นกบ การลูบ
หน้าท้อง เป็นต้น
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
1.ซักประวัติ ประวัติ การคลอด หลายครั้ง
โดยเฉพาะ คลอด > 5 ครั้ง หรือ ผู้คลอด อายุมาก
ตรวจครรภ์ พบ ท่าทารก ผิดปกติ หรือ มีภาวะ CPD
PV. พบปากมดลูก ไม่เปิดขาย เพิ่ม ส่วนนำ
ไม่เคลื่อนต่ำลง
ประเมิน การหดรัดตัว ของ มดลูก Duration m> 60
วินาที Interval < 2 นาที intensity +3 หรือ + 4 ทำให้
รู้สึก เจ็บปวดมาก
ประเมิน ความก้าว หน้าของ การคลอด การเปิด
ขยายของ ปากมดลูก การเคลื่อนต่ำ ของ ศีรษะทารก
และ ระยะเวลา การคลอด มักพบ การคลอด ยาวนาน
ประเมิน ด้านจิต สังคม พบว่า ผู้คลอด
วิตกกังวล กลัว การคลอด หรือ เจ็บครรภ์ คลอดมาก
มีอาการ อ่อนเพลีย มากกว่าปกติ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้คลอด มีโอกาส เกิดการคลอด ติดขัด เนื่องจาก
มดลูก หดรัดตัว มากจน เกิดเป็น รอยคอด คล้าย
วงแหวน ระหว่างกล้าม เนื้อมดลูก ส่วนบน และ
ส่วนล่าง มองเห็นได้ บริเวณต่ำ กว่าระดับ สะดือ
เล็กน้อย (Blandl’s ring )
ผู้คลอด มีโอกาส เกิดภาวะคับขัน เนื่องจาก
การคลอดติดขัด
ทารกในครรภ์ มีโอกาส เกิดภาวะ ขาดออกซิเจน
เนื่องจาก เกิดการคลอด ติดขัด
4.ผู้คลอด มีความ วิตกกังวล และกลัว เนื่องจาก
การคลอดติด ขัด
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย จากการคลอด ยาวนาน
เนื่องจาก การคลอด ติดขัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัว ของ มดลูก ทุก 30 นาที
ถึง 1 ชั่วโมง
ในรายที่ได้รับ ยากระตุ้นการ
หดรัดตัวของมดลูก ให้หยุด ยาทันที
3 . จัดท่านอนตะแคงซ้าย และให้ออกซิเจน
ฟัง FHS ทุก 15 นาที ถ้าFHS >
160 / min หรือ น้อยกว่า 100 / min
จังหวะ ไม่สม่ำเสมอ ให้ออกซิเจน
และ รายงานแพทย์
ดูแลความ สุขสบาย และ สอนวิธีการบรรเทา
ปวดด้วยวิธีต่างๆ
ให้ยาบรร เทาปวด ตามแผนการ รักษา
ประคับ ประคอง ด้านจิตใจ อยู่เป็นเพื่อน
สนับสนุน ให้สามีและ ญาติเป็น กำลังใจ
อธิบาย แนวทาง การรักษา การปฏิบัติตน
ดูแลให้IV เพียงพอ ตามแผนการ รักษา
เตรียม C/S ในระยะ ปากมดลูก เปิดไม่หมด
10 . ถ้าเกิดในระยะ ที่ 2 ของการ คลอด ควร รายงาน
แพทย์ เพื่อให้ยาสลบ ตามแผน การ รักษา ให้วงแหวน
คลาย ตัวออกมา แล้วช่วยคลอด ด้วยคีม
ถ้าไม่คลายใน 45 นาที เตรียม C/S
ถ้าเกิด ในระยะ รก ในรายที่ไม่มี เลือดออก
ให้รอ ครึ่งชั่วโมง วงแหวน อาจคลายตัวได้เอง
แต่ถ้าเลือด ออกมาก ให้รายงานแพทย์ทำการล้วงรก
การหดรัดตัว มากผิดปกติ
เฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
Pathological retraction ring ( Band’s ring )
กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างยืดขยาย และบางมาก
ในขณะที่ กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบน มีการหดเกร็ง
เกิดรอยคอด คล้ายวงแหวน ระหว่าง
กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบน และส่วนล่าง มองเห็นชัด
ระดับต่ำกว่าสะดือ ถ้ารักษาไม่ทันมดลูกแตกได้
Physiological retraction ring (Constriction ring)
กล้ามเนื้อมดลูก ชนิดวงกลม มีการหดตัว
แบบไม่คลาย เฉพาะที่ เกิดเป็นวงแหวนรอย
คอดบนตัวทารก เช่นบริเวณซอกคอ
สาเหตุ
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oligohydramnios
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในครรภ์ internal version
ภายหลังเด็กแฝดคนแรกคลอดแล้ว
ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
Manual removal of placenta
ผลกระทบ
1.ผู้คลอด มีอาการเจ็บครรภ์คลอดมาก
แตะบริเวณหน้าท้องไม่ได้เลย
2.มารดาและทารก อยู่ในภาวะคับขับ
ที่ต้องรีบให้การช่วยเหลือ
3.คลอดติดขัด อาจต้องC/S
4.ถ้าเกิด ในระยะที่ 3 ของการคลอด จะทำให้
ปากมดลูกปิด ส่งผลให้เกิดรกค้าง
และตกเลือดหลังคลอด
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
พบว่า เจ็บครรภ์คาลอด ตลอด ไม่มีระยะพัก
เมื่อสัมผัสท้อง รู้สึกเจ็บมากขึ้น
2.ตรวจร่างกาย
ตรวจหน้าท้อง พบ มดลูก หดรัดตัว
ไม่สม่ำเสมอ ไม่ประสานกับ ผู้คลอด
รู้สึกเจ็บมาก
PV. พบ วงแหวน แต่ถ้าเกิด ในระยะรก พบว่า
รกยังไม่คลอด จากทารกคลอดเป็น เวลานาน
ฟัง FHS ไม่ได้ เนื่องจาก มดลูกแข็ง ตัวตลอด
แนวทางการรักษา
1.ให้ ยาระงับปวด เพื่อให้วงแหวน คลายตัว
แต่ถ้ามีภาวะ Fetal distress ต้องรีบ C/S
วงแหวนจะคลาย ตัวลงเมื่อ ได้รับยาสลบ
ถ้าเกิด ในระยะเบ่ง ควรให้ยา ระงับปวด
เพื่อให้ วงแหวนคลายตัว แล้วใช้สูติศาสตร์
หัตถการ ช่วยคลอด
ระยะคลอด รก ถ้าไม่มี เลือดออก มาก ให้รออีก
ประมาณ 30 นาที วงแหวน จะคลายตัวลง แต่ถ้าเลือด
ออ
6.ตรวจภายใน
ประเมินการขยายของปากมดลูก
ระดับส่วนนำ การหมุนภายในของทารก
7.ประเมินเชิงกราน
เพื่อตรวจภาวะเชิงกรานแคบ CPD
8.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอ
10.สอนวิธีการบรรเทาปวด ด้วยเทคนิคต่างๆ
เช่น การใช้เทคนิค การผ่อนลมหายใจ
การเพ่งจุดสนใจ การลูบ การนวด เป็นต้น
หากไม่ได้ผลควรรายงานแพทย์
เพื่อพิจารณาให้ยาบรรเทาปวด
11.อธิบายการดำเนินการคลอด และ
แผนการรักษา อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ
เพื่อคลายความวิตกกังวล
12.ฟัง FHS >160 /min หรือ < 100 / min
ให้ออกซิเจน 5 lit / min และรายงานแพทย์
13.ประเมิน V/S q 4 hr.
ดูแลให้ยาระงับปวด ตามแผนการรักษา
14.เตรียมอุปกรณ์การดูแลทารก และ
การฟื้นคืนชีพและทีมงานให้พร้อมใช้
Hypertoniic uteriine
dysffunctiions
ความหมาย
การหดรัดตัวที่มีแรงดันในโพรงมดลูก
เฉลี่ยมากกว่า 50 mmHg Duration >90 วินาที
Interval < 2 นาที intensity +3 หรือ +4
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง แต่ ไม่เป็น จังหวะ
ไม่สม่ำเสมอ ไม่ประสานกัน พบได้ร้อยละ 2 เช่น
การหดรัดตัวแบบไม่คลาย Tetanic contraction
การหดรัดตัวแบบไม่ประสานกัน In-coordinate
uterine contraction
และการหดรัดตัวเฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
Tetanic
contraction
ความหมาย
มดลูก หดรัดตัวแข็งตึงมาก นาน ถี่ ระยะพักสั้น
หรือ ไม่มี ระยะพักเลย Duration > 90 วินาที
Interval < 90 วินาที
สาเหตุ
การคลอดติดขัด obstructed labor
ส่งผล ให้มดลูก หดรัดตัว มากขึ้น
เพื่อขับทารก ลงมาใน ช่องทาง คลอด
แต่ทารกไม่สามารถ เคลื่อนต่ำ ลงมาได้
มดลูก ส่วนบน ถูก ดึงรั้ง ขึ้นมาก มดลูก
ส่วนล่าง ยืดขยายขึ้น เรื่อยๆ ผนังมดลูก
บางขึ้นเรื่อยๆ เกิดรอยคอด คล้ายวงแหวน
ระหว่าง กล้ามเนื้อ มดลูก ส่วนบน และ
ส่วนล่าง Bandl’s ring
สาเหตุอื่นๆ ที่ไม่ใช่ การคลอดติดขัด
non -obstructed labor
ได้รับยากระตุ้น การหดรัดตัว ของมดลูก
ไม่ถูกวิธี เร็วเกินไป หรือ ให้ขนาด
มากเกินไป
รกลอกตัว ก่อนกำหนด
ผลกระทบ
1.ผู้คลอด เจ็บครรภ์ คลอดมาก เจ็บเกือบ
ตลอดเวลา ขณะ มดลูก คลายตัว อาจยังเจ็บ
และเจ็บมากขึ้น เมื่อมดลูกมด หดรัดตัว
กระสับกระส่าย จับต้องมดลูก ไม่ได้
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ขาดน้ำ ขาดความ
สมดุลของ เกลือแร่ น้ำตาล ในเลือดต่ำ
จากการเจ็บ ครรภ์ คลอดมาก และ
พักผ่อนไม่เพียงพอ