Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักปรัชญาและหลักคำสอนทางศาสนาวัฒนธรรมค่านิยมในการดำรงชีวิต - Coggle…
หลักปรัชญาและหลักคำสอนทางศาสนาวัฒนธรรมค่านิยมในการดำรงชีวิต
แนวคิดของหลักปรัชญาสาขาต่างๆ
ศาสนาพุทธ
หลักธรรม
ขันธ์ 5
รูป
ธาตุดิน
ธาตุน้ำ
ธาตุลม
ธาตุไฟ
นาม
เวทนา
สัญญา
สังขาร
วิญญาณ
อริยสัจ 4
ประกอบด้วย
ทุกข์ คือ ตัวปัญหา
สมุทัย คือ สาเหตุของปัญหา
นิโรธ คือ การแก้ปัญหา
มรรค คือ วิธีการแก้ปัญหา
ความสำคัญ
เป็นคำสอนที่คลุมหลักธรรมทั้งหมดของพระพุทธศาสนา
เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการ แห่งปัญญา
คำสอนที่ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้ ตาม หลักความจริงแห่งธรรมชาติ
อิทธิบาท 4
ประกอบด้วย
ฉันทะ (ความรัก และความ พอใจ)
วิริยะ (ความเพียร)
จิตตะ (ความเอาใจจดจ่อ ความเอาใจใส่)
วิมังสา (การใช้ปัญญาไตร่ตรอง ตรวจสอบ)
ประโยชน์
ประโยชน์ของฉันทะ ทำให้เป็นผ้มูีความพอใจ และมีใจรักตอ่งาน ทำให้เกิดความรู้สึกเต็มใจใน การทำงาน
ประโยชน์ของวริยะทำให้เป็นคนมั่นเพียร และขยันในการทำงาน ไมมีความเกียจคร้าน มุ่งมั่นที่จะทำงานให้เสร็จ
ประโยชน์ของจิตตะ ทำให้เป็นคนมีความมุ่งมั่น และจดจ่อกับงานที่ทำจิตมีความแน่วแน่ และมั่นคงตอ่ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น
ประโยชน์ของวิมังสา ทำให้เป็นผ้ทูี่รู้จักคิด วิเคราะห์ในงานช่วยทำให้ทราบ และ เข้าใจในกระบวนการของงาน
พรหมวิหาร 4
เมตตา
กรุณา
มุทิตา
อุเบกขา
อัปปมาท
ธรรมที่กล่าวถึงความไม่ประมาท
สังคหวัตถุ 4
ทาน
ปิยวาจา
อัตถจริยา
สมานัตตตา
สังคหวัตถุ 4
ทาน
ปิยวาจา
อัตถจริยา
สมานัตตตา
ฆราวาสธรรม 4
สัจจะ
ทมะ
ขันติ
จาคะ
บุญกิริยาวัตถุ 10
ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
ศีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล
ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
อปจายนมัย บุญสำเร็จด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่
เวยยาวัจจมัย บุญสำเร็จด้วยการช่วยเหลือขวนขวายในกิจการงานต่างๆ
ปัตติทานมัย บุญสำเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ
ปัตตานุโมทนามัย บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ
ธัมมัสสวนมัย บุญสำเร็จด้วยการฟังธรรม
ธัมมเทสนามัย บุญสำเร็จด้วยการแสดงธรรม
ทิฏฐุชุกัมม์ บุญสำเร็จด้วยการทำความคิดความเห็นของตนให้ตรง
สัปปุริสธรรม 7
ธัมมัญญุตา
อัตถัญญุตา
อัตตัญญุตา
มัตตัญญุตา
กาลัญญุตา
ปริสัญญุตา
ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา
เป้าหมายของชีวิต
เป้าหมายระดับพื้นฐาน
ขยันหมั่นเพียร (อุฏฐานสัมปทา)
เก็บออมทรัพย์ (อารักขสัมปทา)
คบคนดีเป็นเพื่อน (กัลยาณมติตตา)
ใช้ทรัพย์เป็น (สมชีวติา)
เป้าหมายระดับกลาง
มีศรัทธา เชื่อในพระรัตนตรัย เชื่อในกรรม และผลของกรรม
มีศีล ความประพฤติทางกาย วาจา เรียบร้อย
จาคะ ความเสียสละ
ปัญญา รู้อะไรดีอะไรชั่ว
เป้าหมายระดับสูงสุด
ประโยชน์ทเี่ป็นแก่นแท้ ของชีวิต เป็นจุดหมายสุดท้ายที่ชีวิตจะพึงบรรลุ
ศาสนาคริสต์
หลักคำสอน
จงนมัสการพระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว
วันพระเจ้าอย่าลืมฉลองเป็นวันศักดิ์สิทธิ์
อย่าออกนามพระเจ้าโดยไม่สมเหตุ
อย่าทำลามก
จงนับถือบิดามารดา
อย่าฆ่าคน
อย่าล่วงเกินสามีภรรยาคนอื่น
อย่าลักทรัพย์
อย่าใส่ความนินทา
อย่ามักได้ทรัพย์ของเขา
ศาสนาอิสลาม
หลักการของอิสลาม
หลักการอันเป็นข้อบังคับสำหรับบุคคล
1.หลักศรัทธา
2.หลักปฏิบัติ
3.หลักคุณธรรม
หลักการอันเป็นข้อบังคับสำหรับสังคม
หลักศรัทธา หรือ ความเชื่อในศาสนา (อีมาน)
ศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
ศรัทธาในพระคัมภีร์
ศรัทธาในวันพิพากษา
ศรัทธาในการลิขิตของพระผู้เป็นเจ้า
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยีง
หลักพิจารณา
กรอบแนวคิด
คุณลักษณะ
คำนิยาม
ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
เงื่อนไข
เงื่อนไขควรรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การนำหลักปรัชญาและศาสนาต่างๆ มาใช้เป็นแนวทาง ในการดำรงชีวติในสังคม
ต้นทุนชีวิตมนุษย์
ต้นทุนด้านสุขภาพ
ต้นทุนด้านเศรษฐกิจ
ต้นทุนด้านภูมิศาสตร์
ต้นทุนด้านการศึกษาและปัญญา
ต้นทุนด้านวัฒนธรรมและประเพณี ค่านิยม
ต้นทุนด้านประสบการณ์ ทักษะชีวิต
การดำรงชีวิตของมนุษย์
วัตถุนิยม
เสรีนิยม
เศรษฐกิจพอเพียง
ความขัดแย้งของมนุษย์
มูลเหตุแห่งความขัดแย้ง
วัย
ค่านิยม ความคาดหวัง
ประสบการณ์
ผลประโยชน์
ตนเอง
กลุ่ม
กลุ่มบุคคล
ชนชัน้ทางสังคม
จิตวิญญาณความเป็นมนุษย์
ลักษณะของของผู้มีภาวะบกพร่องทางจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์
ทะเลาะวิวาท
ความก้าวร้าว
คดโกง
ฟุ่มเฟือย
เห็นแก่ตัว
ลักษณะของผู้มีจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์ที่ดี
มีเหตุผล
สุขุมเยือกเย็น
จริงใจ
มีเมตตาต่อบุคคลรอบข้าง
สันติภาพและสันติสุขของมนุษย์
แนวทางการสร้างสันติภาพและสันติสุขในบุคคล
ลดความเห็นแก่ตัวลงบ้าง หากมีชีวิตอยู่ในระดับที่พอเพียงแล้ว
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ไม่มุ่งแสวงหากำไร กอบโกยเกินไป
หาจุดร่วมสงวนจุดต่าง ไม่สร้างความแตกแยกในกลุ่ม
เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา
ชุมชนเข้มแข็งแบบพอเพียง
มีความเคารพต่อกฎกติกาของสังคม