Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลในประเทศไทย, อ้างอิง - Coggle Diagram
การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลในประเทศไทย
ด้านการศึกษาพยาบาล
พยาบาลวิชาชีพสามารถนาความรู้ ทางทฤษฎีมาถ่ายทอดให้กับบุคลากร และผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พยาบาลไทยในอดีต
โรงเรียนหญิงแพทย์ผดุงครรภ์แลการพยาบาลไข้ พ.ศ2439
โรงเรียนหญิงแพทย์ผดุงครรภ์แลการพยาบาลไข้ พ.ศ.2457
โรงเรียนพยาบาลแมคคอร์มิค พ.ศ.2466
พัฒนาให่นักศึกษามีความสมดุลทั้งทางด้านวิชาการและคุณธรรม จริยธรรรม
เน้นปฏิบัติและเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
ยึดแนวคิดการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษยฺ์
พัฒนาศักยภาพของตัวเองในการใช้ภาษาอังกฤษและการปรับทัศนคติ
การเรียนรู้เทคโนโลยีต่างๆเพื่อก้าวทันกับวิทยาการต่างๆ
ด้านการปฏิบัติการพยาบาล
ความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานในการให้การพยาบาล
ใช้กระบวนการ พยาบาลเพื่อการวางแผนและให้การพยาบาล
แบบองค์รวม
การใช้มาตรฐานการพยาบาล เพื่อควบคุมคุณภาพ ให้ความร่วมมือในทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
ใช้ความรู้และทักษะขั้นพื้นฐานในการให้การพยาบาลกับผู้ป่วยโดยตรงและครอบครัว
เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติเชิงวชาชีพ
การขอคำปรึกษาและขอความช่วยเหลือจากบุคลากรในทีมสุขภาพตามความจำเป็นได้อย่างเหมาะสม
ด้านการบริการพยาบาล
เป็นการบริการด้านการดูแลรักษาพยาบาล การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ
ฟื้นฟูสภาพ โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการพยาบาลประกอบ
ความสามารถในการตัดสินใจในการให้การบริการโดยตระหนักถึงคุณค่าในวิชาชีพ เพื่อผู้รับบริการ
บริการที่มีคุณภาพและเกิดความพึงพอใจ
วิธีการพัฒนาความรู้ทางวิชาชีพในด้านการบริการพยาบาล
การใช้ตัวแบบและบุคคลที่เป็นพี่เลี้ยง (role-modeling and mentorships)
เป็นการเรียนรู้โดยการเลียนแบบพฤติกรรมของผู้ที่เรายึดถือเป็นแบบอย่าง
จารีตประเพณี (tradition)
เป็นการได้มาซึ่งความรู้ที่เป็นความจริง (truth) หรือความเชื่อที่ถ่ายทอดต่อๆ กันมาจากผู้ที่เคยมีประสบการณ์มาก่อน
การลองผิดลองถูก (trial and error)
เป็นการแสวงหาความรู้โดยการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในขณะทำงาน มักจะใช้กับปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อน
การยืมมาจากศาสตร์อื่น (borrowing)
เป็นการได้มาของความรู้ทางการพยาบาลโดยการที่ผู้นำหรือนักวิชาการทางการพยาบาลยืมแนวคิด ทฤษฎีมาจากศาสตร์สาขาอื่นๆ
การรู้ด้วยตัวเองหรือการหยั่งรู้ (intuition)
เป็นความรู้จากการเข้าใจอย่างลึกซึ้งในสถานการหรือเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งโดยทั่วไปไม่สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุมีผล (logic)
การใช้เหตุผล (reasoning)
เป็นกระบวนการและการจัดระบบของความคิดเพื่อให้ได้ข้อสรุป
วิธีอนุมาน (deductive method) หรือ นิรนัย
วิธีอุปมาน (inductive method) หรือ อุปนัย
ประสบการณ์ส่วนบุคคล (personal experience)
เป็นการได้มาซึ่งความรู้จากการที่บุคคลได้เผชิญกับเหตุการณ์
การวิจัย (research)
การวิจัยจึงเป็นการค้นคว้าหาความจริงโดยการกระทำซ้ำหรือทำใหม่หลายๆครั้งเพื่อให้แน่ใจว่าจะได้ความรู้ใหม่ที่ถูกต้อง
ผู้มีอำนาจหรือผู้มีชื่อเสียง (authority)
เป็นการได้ความรู้ที่ได้จากผู้ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การพัฒนาองค์การทางวิชาชีพพยาบาล
มีความรู้ความสามารถตามกรอบวิชาชีะ ตระหนักถึงความสำคัญของวิชาชีพ
มุ่งมั่นตั้งใจที่จะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างแท้จริง
พัฒนาด้านการศึกษาพยาบาล โดยการศึกษาจะเป็นการสร้างตน ให้รอบรู้ รู้ทันเหตุการณ์ เพิ่มศีกยภาพ
การวิจัยทางด้านการพยาบาล ซึ่งเป๋นการสร้างองค์ความรู้ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา
การพัฒนาองค์ความรู้วิชาชีพโดยพยาบาลวิชาชีพ ก่อให้เกิดวิชาชีะนำไปสู่การการพัฒนาวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม
พัฒนาภาวะผู้นำทางการพยาบาล
ภาวะผู้นำ
อิทธิพล (influece)
ตั้งใจ (intention)
ความรับผิดชอบส่วนบุคคล (Personal Responsibility)
การเปลียนแปลง (Change)
มีการจูงใจผู้ตาม (follwers)
การพัฒนาภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำในด้านวิชาชีพพยาบาล
พัฒนาวิชาชีพการพยาบาลให้มีความโดดเด่น
มุมมองของสังคมต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลไทยในอนาคต
ความสามารถด้านเทคโนโลยี
ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการและทักษะปฏิบัติ
ความสามารถด้านภาษาสื่อสาร
ความสามารถด้านการปฏิสัมพันธ์
คุณธรรมจริยธรรมสูง
สนใจใฝ่รู้อย่างสม่ำเสมอ
เป็นวิชาชีพที่ได้รับการยกย่องเชื่อถือ จากสังคม
ผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรและมีใจรักในงานบริการ
เป็นผู้ให้ความรู้ คำแนะนำ สร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพอนามัย
การผลิตพยาบาลที่มีคุณภาพ
การวิจัยทางการพยาบาล
การปฏิรูปการศึกษาทำให้พยาบาลให้ความสำคัญกับการสร้างแงค์ความรู้ในวิชาชีพมากขึ้น
มีการเตรียมความพร้อมและฝึกทักษะการทำวิจัยอย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบโดยหลักวิจัยแบบบูรณาการ
การสร้างเครือข่ายในการทำวิจัยร่วมกับสหสาขาวิชาชีพเพื่อนำไปสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
อ้างอิง
http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/5772/3/Book55_07_1edit.pdf
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/download/30207/26043/
http://www.elnurse.ssru.ac.th.pdf