Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบของงานวิจัย, น.ส.สโรชา ยาวิใจ รุ่น36/2 เลขที่ 35 - Coggle Diagram
แบบของงานวิจัย
การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
Conceptualization
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการเขียน
เขียนแล้วได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoreticalframework)
Theoretical framework
เขียนแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
เขียนครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
มักเขียนเป็นdiagram
Conceptual framework
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เลือกเขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้อง เกี่ยวข้องของตัวแปรและอธิบายเหตุผลที่ไม่ได้เขียนถึงตัวแปรครบทุกตัว
การเขียน
กำหนดขอบเขตการวิจัย
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
ทบทวนเอกสารและวรรณกรรม ให้ครอบคลุม และทันสมัย
สรุปและเขียนว่าความรู้ประเด็นนี้เป็นอย่างไร
มีเกณฑ์ช่วยในการอ่าน
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอ จึงcomment ไม่ได้
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ Theoretical framework มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ประเภทของการวิจัย
1.แบ่งตามประโยชน์ของการนำผลการวิจัยไปใช้
1.การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (basic or pure research)
เป็นวิจัยที่มุ่งสร้างทฤษฎี สูตร หรือกฎ (เช่นกฎทาง
คณิตศาสตร์) เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการศึกษา
ผลจากการวิจัยนี้จะเป็นสูตร กฎ หรือทฤษฎีในการเรียนหรือการวิจัยในสาขานั้นๆต่อไป
2.การวิจัยประยุกต์ (applied research)
เป็นวิจัยที่เป็นไปเพื่อจะนำผลวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ในการทำงานจริง
เมื่อได้ผลเป็นอย่างไรก็จะนำไปสู่การตัดสินใจต่อไป
3.การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (actionresearch)
มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรือแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงาน
ผลที่ได้จากการวิจัยแบบนี้มีความเฉพาะเจาะจงว่าวิธีการที่พิสูจน์ว่าแก้ปัญหาได้
ไปใช้กับหน่วยงานอื่นนั้นจะได้ผลหรือไม่
2.ประเภทของการวิจัยแบ่งตามวัตถุประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
2.1การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory research)
เป็นการหาคำ
ตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร
จำนวน
ร้อยละ
มาก-น้อย
สูง-ต่ำ
ไม่มีการเปรียบเทียบว่าอะไร
2.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
เป็นการวิจัยคล้ายกับแบบสำรวจตรงที่ไม่มีการทดลองในการวิจัยนั้นๆแต่
สามารถ
มีการเปรียบเทียบตัวแปร
2.3 การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research)
หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรได้
ไม่มีการทดลอง
เป็นการหาคำตอบเพื่ออธิบายว่าปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิผล/สัมพันธ์ต่อตัวแปร
2.4 การวิจัยเชิงคาดคะเน(predictiveresearch)
เป็นการวิจัยที่ให้ผลการวิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิดแต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
2.5 การวิจัยเชิงวินิจฉัย (diagnostic research)
เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุของปัญหา
3.ประเภทของการวิจัยแบ่งตามความสามารถในการควบคุมตัวแปร
3.1 การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
วิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่
ปลูกข้าวโพด ในห้องทดลองที่ควบคุมอุณหภูมิให้เป็น 20 องศา
3.2 การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimental research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมได้บางส่วน
เปรียบเทียบ
3.3 การวิจัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research)
ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
4.ประเภทของการวิจัยแบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
4.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research)
ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้น
ปัจจุบันเป็นอย่างไร
เพื่อทำนายว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร
4.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
ไม่มีการทดลอง
ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน
4.3 การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
มีการทดลอง
4.4 การวิจัยเชิงย้อนรอย (expost facto research)
วิจัยที่ศึกษาจากผลไปหาเหตุ ผลในปัจจุบันเกิดจากเหตุในอดีต
เริ่มจากกำหนดผลหรือตัวแปรตามก่อนแล้วค่อยค้นหาสาเหตุ
4.5 การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research)
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณะอย่างไร
จำนวนเท่าไร
survey หมายถึง
สำรวจ(ถาม)ทุกคน แต่คนทั่วไปไม่ค่อยเคร่งครัดเรื่องนี้
4.6 การวิจัยเชิงประเมินผล (evaluative research)
ประเมินผลอาจใช้ CIPP แบบที่นักวิจัยไทยนิยม
ประเมินว่า context
คือบริบทของงานที่ประเมินเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์กับปัญหาสอดคล้องกันไหม
input คือปัจจัยนำเข้า
process คือ
กระบวนการทำได้ครบไหม มีปัญหาอะไรเข้ามาแทรกไหม
product คือผลผลิต ได้ผลเป็นอย่างไร บรรลุวัตถุประสงค์ไหม
5.ประเภทของการวิจัยแบ่งตามลักษณะของข้อมูล
5.1 การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitativeresearch)
5.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
5.3 การวิจัยแบบผสม (mixed methods)
แบบคู่ขนาน
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
6.แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
6.1การวิจัยจากเอกสาร(Documentary research)
ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน แล้วเสนอผลในเชิงวิเคราะห์
6.2การวิจัยจากการสังเกต(Observation research)
ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต
การวิจัยประเภทนี้นิยมใช้มากทางด้านมานุษยวิทยาซึ่งส่วนใหญ่เป็นการสังเกตพฤติกรรมของบุคคล
สถานภาพและบทบาท
6.3การวิจัยแบบสำมะโน (Census research)
วิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยของประชากร
6.4การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง (Sample surveyresearch)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
6.5การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study)
การศึกษาเฉพาะกรณีเป็นการวิจัยที่นักสังคมสงเคราะห์นิยมใช้มาก
ศึกษาอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้นๆมาซึ่งข้อเท็จจริง
6.6การศึกษาแบบต่อเนื่อง (Panel study)
เป็นการศึกษาที่มีการเก็บข้อมูลเป็น ระยะ ๆ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาของกลุ่มตัวอย่าง
ช่วยให้เข้าใจและทราบถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงได้
6.7การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental
research)
ผู้วิจัยเก็บข้อมูลมาจากการทดลองซึ่งเป็นผลมาจากการ
กระทำ
การควบคุมตัวแปรต่างๆ
น.ส.สโรชา ยาวิใจ รุ่น36/2 เลขที่ 35