Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่ -…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่
ความหมาย
Communicable Disease
โรคที่เกิดจากตัวเชื้อหรือพิษของชนิดใดชนิดหนึ่งใน 4 ชนิด
Tropical Disease
โรคที่เกิดเฉพาะในเขตร้อน และมีสัตว์นำโรค
Emerging Infectious Disease
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
MALALIA
การติดเชื้อโปรโตชัว
การติดต่อ
ถ่ายถอดทางพันธุกรรม จากแม่สู่ลูก
Vector Transmision
ยุงก้นปล่องเพศเมีย
Direct Transmision
การถ่ายเลือด
การใช้เข็มและsyringที่ปนเปื้อน
การปลูกถ่ายอวัยวะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thick and Thin Blood Smear
Rapid Diagnosis test
PCR
Paroxysm
ระยะไข้ตัวร้อน
มีไข้สูง 40-41 องศา หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน
ระยะเหงื่อออก
Pt.มีเหงื่ออกชุ่มที่นอน
ระยะหนาวสั่น
อุณหภูมิร่างกายลดลง มีอาการหนาวสั่น ปากและตัวสั่น ซีด ผิวหนังแห้ง
ภาวะไข้กลับ
ไข้กลับเนื่องจากเชื้อยังคงอยู่ในตับ
เกิดจากเชื้อมาลาเรียถูกทำลายไม่หมด
การรักษาเมื่อมีอวัยวะสำคัญล้มเหลว
ตรวจ DTX ทุก 6 ชม. ให้ IV fluid
ซีด ให้ PRC
ให้ยากันชัก เช่น Diazepam
น้ำท่วมปอด นอนหัวสูง 45 องศา ให้ออกซิเจน ให้ยาขับปัสสาวะ
ไตวาย ถ้าขาดน้ำให้IV fluid
เลือดออกง่าย ประเมินภาวะเลือดออก
ภาวะเลือดเป็นกรด แก้ไข้ภาวะ Hypovolemia ในผู้ป่วยที่ขาดน้ำไม่ให้ NaHCO3
Shock ดูสาเหตุการช็อค
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
สาเหตุ
เกิดจาดเชื้อไวรัสแดงกี่ ซึ่งเป็นRNAจากยุงลายตัวเมีย
เกิดจากเชื้อไวรัสแดงกี่ซึ่งมีอยู่ 4 สายพันธุ์
อาการ
3.ไข้เลือดออกแดงกี่ที่ช็อค
ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตแคบน้อยกว่า 20 mmHg มือเท้าเย็น กระสับกระส่าย
2.ไข้เลือดออก
ลักษณะเหมือนไข้แดงกิ่ว ปวดศีรษะ ปวดตามตัว หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน
1.การติดเชื้อไข้แดงกี่ Dengue fever
เหมือนไข้ทั่วไป
ปรากฏอาการเพียง2-3 วัน อาจมีผื่นขึ้น
ความรุนแรงของโรค
เกรด 1
ผู้ป่วยไม่ช็อค ไม่มีจุดเลือดออก
เกรด 2
ผู้ป่วยไม่ช็อค มีจุดเลือดออก เลือดกำเดาไหล
เกรด 3
ผู้ป่วยช็อค ความดัยโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว เหงื่อออก
เกรด 4
ผู้ป่วยช็อครุนแรง วัดความดันโลหิตไม่ได้
การดูแล
การดูแลระยะช็อค
ประเมินV/S
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
ประเมินอาการของภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการแน่นอึดอัดท้อง
การดูแลระยะไข้สูง
การให้น้ำเกลือประมาณ 24-48 ชั่วโมง ระยะนี้เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา
ติดตามความเข้มข้นของเลือด V/S ปริมาณปัสสาวะ
ให้น้ำเกลือเพื่อให้เพียงพอต่อการไหลเวียนเท่านั้นไม่ควรให้เยอะ
เช็ดตัวลดไข้
การดูแลระยะพักฟื้น
ประเมิน V/S
ประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูแลตนเอง
โรคพิษสุนัขบ้า(Rabies)
ความหมาย
เชื้อไวรัส Rabies Virus ที่อยู่ในน้ำลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อาการ
ระยะที่ 1
มีไข้ต่ำๆ หนาวสั่น ปวดศีรษะแเบื่ออาหาร ท้องเดิน กระสับกระส่าย บาดแผลที่โดนกัดจะชา คัน ปวดเสียว
ระยะที่ 2
ปรากฏอาการทางระบบประสาท
แบบคลุ้มคลั่ง
แบบอัมพาต
แบบแสดงอาการไม่ตรงต้นแบบ
ระยะที่ 3
ไม่รู้สึกตัว หรือ ระยะสุดท้าย มีอาการหมดสติและเสียชีวิต
การวินิจฉัย
RT-PCR
ตรวจหาเชื้อไวรัสจากน้ำลาย น้ำไขสันหลัง
ในกรณีที่ผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว จะพบลักษณะเซลล์ประสาทที่เรียกว่า Negri bodies
Direct fluorescent antibody test
ตัดชิ้นเนื้อผิวหนังบริเวณคอนำมาตรวจ
การพยาบาล
ควรแยกผู้ป่วยออกจากสิ่งเร้าต่างๆ
ผู้ดูแลใส่เสื้อผ้าที่มิดชิด ใส่แว่นตา เพื้อป้องกันการติดเชื้อจากผู้ป่วย
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลม ดูแลให้ยานอนหลับ ยาแก้ชัก
ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
ให้ยาปฏิชีวนะ
การดูแลแผล ใส่ยาฆ่าเชื้อ ปิดด้วยผ้าก๊อซ
อิมมูนโกลบูลินต้านพิษสุนัขบ้า
อิมมูนโกลบูลินจากคน
ขนาด 20 หน่วยต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
อิมมูนโกลบูลินจากม้า
ขนาด 40 หน่วยต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
ไข้รางสาดน้อย(Thyphoid)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไทฟอยด์(Salmonella typhi)
การติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คนเท่านั้น
ระยะฟักตัวของโรค
3-21 วัน ขึ้นอยู่กับเชื้อที่เข้าสู่ร่างกายโดยเฉลี่ยประมาณ 14 วัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ
การตรวจหาสารภูมิต้านทาน
การทดสอบ Widal test
การเพาะเชื้อ
การดูแลรักษา
ดื่มน้ำ/รับประทานอาหารสด
ผู้ที่เป็นพาหะเชื้ออาจแพร่ไปยังคนอื่นได้เนื่องจากเชื้อปล่อยออกมากับอุจจาระ
เฝ้าระวังการกลับไปเป็นซ้ำ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
เฝ้าระวังภาวะช็อค
รักษาประคับประคองตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะ
อหิวาตกโรค(Cholera)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vebrio cholera
การฟักตัว
24ชั่วโมง-5วัน
การติดต่อ
ทางตรง
การรับประทานอาหาร
การดื่มน้ำที่ไม่สะอาดมีเชื้ออหิวาต์ปะปน
การสัมผัสอุจจาระของผู้ป่วย
ทางอ้อม
ใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย
ได้รับเชื้อจากน้ำดื่มและอาหารที่ไม่สะอาด
อาการ
กระหายน้ำ ปากคอแห้ง ปัสสาวะน้อย
ถ่ายเป็นน้ำรุนแรง
ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจอุจจาระและการเพาะเชื้อ
การตรวจ Polymerase Chain Reaction: PCR
การพยาบาล
การให้ Oral Dehydrate Salt
เตรียมเตียงที่มีช่องตรงกลางเพื่อให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้
ให้ยาฆ่าเชื้อ
แยกผู้ป่วย
กักกันผู้สัมผัสโรค
ทำลายเชื้อโรคในภาชนะที่ผุ้ป่วยขับถ่าย
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะตะคริว
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
ลำไส้ไม่ทำงาน
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะเลือดคั่งในปอด
Leptospirosis
ระยะฟักตัว 2-20 วัน
การติดเชื้อ Leptospira จากสัตว์
อาการ
ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด
ปวดกล้ามเนื้อ
ไข้สูง 38-40 องศา เยื่อบุตาแดง
ปวดศีรษะ
ระยะร่างกายสร้างภูมิ
หลังจากไข้ขึ้น1 สัปดาห์ ไข้จะลงแล้วกลับมาขึ้นอีก
ปวดศีรษะ คอแข็ง
สาเหตุ
ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์
เดินลุยน้ำ ที่ปนเปื้อนปัสสาวะสัตว์
เชื้อจะเข้างทางบาดแผล เยื่อบุจมูก ปากหรือตา
การกินอาหาร
Weil's Syndrome
อาการ
มีเลือดออก มีผื่น
อาการเหลือง
กดเจ็บกล้ามเนื้อ
เยื่อบุตาบวมแดง
การพยาบาล
ให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
ให้ยากันชัก
ให้สารน้ำและเกลือแร่
ให้ยาแก้ปวด
ให้ยาลดไข้
ให้ยาปฏิชีวนะ
บาดทะยัก(Tetanus)
สาเหตุ
ติดเชื้อ Bacteria Clostridium tetani
พยาธิสภาพ
เกิดจากGanglioside ที่ myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบ แล neurona membrane ในไขสันหลัง เข้าไปใน Axon ของ cell ประสาท ทำให้ยับยั้งการหลั่งสาร GABA ทำให้เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ระยะฟักตัว
7-21 วัน
การวินิจฉัย
ตรวจระดับ Serum antitoxin titer
พบเชื้อ Clostridium tetani
Spatula test
ผู้ป่วยกัดไม้กดลิ้น
การพยาบาล
ควบคุมการกระตุกของกล้ามเนื้อด้วยการคลายกล้ามเนื้อ และป้องกันการเป็นอัมพาต
ดูแลแผลด้วยการทำแผลแบบ Debridement
ให้ยาถอนพิษบาดทะยัก
ดูแลให้ IV fluid และอาหารอย่างเพียงพอ
ไข้รางสาดใหญ่(Scrub Typhus)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย rickettsia orientalis
ระยะฟักตัว 10-12 วัน
อาการ
Mild type
มีไข้ ปวดศีรษะ เมื่อยตัว
พบผื่น อาจมีตับโต
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย ปวดศีรษะ
อาการไม่แน่นอน
Classical type
ตาแดง ต่อมน้ำเหลืองโต
มีไข้สูง ปวดศีรษะ เมื่อยตัว
การวินิจฉัย
การตรวจทางน้ำเหลือง
การตรวจ Complement-Fixation
การตรวจ Indirect Immunofluorescence Antibody
การวินิจฉัยด้วยเทคนิค Polymerase gChain Reaction
Meliodosis
เป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei
อาการ
Localized Infection
เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ
ฝี
ไข้
Pulmonary Infection
ไอ เจ็บหน้าอก ไข้สูง
ปวดศีรษะ ผอม
Disseminated Infection
ไข้ น้ำหนักลด ปวดท้อง เจ็บหน้าอก
ปวดข้อ ปวดหัว ชัก
ฺBloodstream Infection
ไข้ ปวดศีรษะ หายใจลำบาก
ไมสบายท้อง ปวดข้อ
การรักษา
Surgical drainage
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้สารน้ำ
วัณโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
M.bovis
M.africanum
M.tuberculosiso var hominis
M.microti
พยาธิสภาพ
รัยเชื้อเข้าสู่ร่างกาย เชื้อเข้าสุ่ปอด แล้วแบ่งตัวแล้ว
ส่งไปยังน้ำเหลือง
อาการ
ไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน
ไอแห้งๆ หรือถ้เป็นมากจะไอเป็นเลือด
การตรวจวินิจฉัยโรค
ประวัติการสัมผัสโรค
การตรวจเสมหะ
การตรวจ Tubercullin test
การถ่ายรังสีปอด
ใช้วิธีRNA and DNA amplification
การรักษา
รับประทานยา
Rifampicin
Isoniazid
Ethambutol
Pyrazinamind
Streptomycin