Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของการวิจัย, นางสาว ธัณยชนก สระศรีสม 612001048 - Coggle Diagram
ประเภทของการวิจัย
-
- ประเภทของการวิจัยแบ่งตาม
ระเบียบวิธีการวิจัย
-
-
4.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) ไม่มีการทดลอง
ใดๆในการวิจัย ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน
4.5 การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research) หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณะอย่างไร จำนวนเท่าไร เป็นต้น
4.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research) ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้น ปัจจุบันเป็นอย่างไร หาความสัมพันธ์ตัวแปรบางตัวในอดีตกับปัจจุบัน เพื่อทำนายว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร
-
- ประเภทของการวิจัยแบ่งตามวัตถุ
ประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
2.1 การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory research) เป็นการหาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร เช่น จำนวน ร้อยละ มาก-น้อย สูง-ต่ำ เป็นต้น
-
2.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) เป็นการวิจัย
คล้ายกับแบบสำรวจตรงที่ไม่มีการทดลองในการวิจัยนั้นๆ
-
2.3 การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research) ไม่มีการทดลอง แต่หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรได้
-
2.4 การวิจัยเชิงคาดคะเน (predictive research) เป็นการวิจัยที่ให้ผลการวิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
หาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งกับความวิตกกังวล ถ้ามีความสัมพันธ์กันหมายความว่า ถ้าความเข้มแข็งเปลี่ยน ความวิตกกังวลจะเปลี่ยนด้วย อาจเป็นแบบคนละทางคือสัมพันธ์ทางลบ หรือทางเดียวกัน
-
1.2 การวิจัยประยุกต์ (applied research) เป็นวิจัยที่เป็นไปเพื่อ
จะนำผลวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ในการทำงานจริง
-
1.3 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) เป็นการวิจัยที่มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรือแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงาน
มีความเฉพาะเจาะจงว่าวิธีการที่พิสูจน์ว่าแก้ปัญหาได้นั้นสามารถยืนยันว่าใช้ได้ผลเฉพาะที่หน่วยงานนั้นๆ ไม่สามารถบอกได้ว่าถ้านำวิธีการที่ใช้ในการวิจัย ไปใช้กับหน่วยงานอื่นนั้นจะได้ผลหรือไม่
-
- ประเภทของการวิจัยแบ่งตามความ
สามารถในการควบคุมตัวแปร
3.2 การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimentaesearch) เป็นการวิจัยที่ควบคุมได้บางส่วน เช่น ให้นักเรียนห้องหนึ่งเรียนแบบบรรยาย ให้นักเรียนห้องสองเรียนแบบเล่น ไม่ให้นักเรียนคุยกันระหว่างห้องเรียน แล้วเปรียบเทียบว่านักเรียนห้องใดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า
3.3 การวิจัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research) ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนใดๆ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ แล้วดูว่าผลการวิจัยจป็นอย่างไร นักวิจัยก็จะทำการอภิปรายผลที่เกิดขึ้น
3.1 การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) เป็นการวิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่ เช่น ปลูกข้าวโพดในห้องทดลองที่ควบคุมอุณหภูมิให้เป็น 20
- ประเภทของการวิจัยแบ่งตาม
ลักษณะของข้อมูล
-
-
-
-
-
Conceptual framework
-
-
-
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้องเกี่ยวข้อง ของตัวแปร และอธิบายเหตุผลที่ไม่ได้เขียนถึงตัวแปรครบทุกตัว
-